Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อ ร่วมกับการตั้งครรภ์) - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อ ร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B Virus ) ติดต่อไปยัง ทารกได้โดย ทางรก ในสตรีตั้งครรภ์ติดเชื้อในระยะใกล้คลอด หรือ สัมผัสเลือดของ มารดาในขณะคลอด
การรักษา
ไม่มีการรักษาที่เฉพาะเจาะจง อาการจะค่อยๆ ดีขึ้นใน 3-16 สัปดาห์ ควรรับประทานอาหารโปรตีนสูง ไขมันต่ำ ดื่มน้ำมาก ๆ
การติดเชื้อทางเดินหายใจ เชื้อหัดเยอรมัน Rubella
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ไม่ครบกำหนด, เพิ่มอัตราการแท้ง, ทารกติดเชื้อทำให้เกิดการตายคลอด
ผลของโรคทารก ทารกติดเชื้อโรคแต่กำเนิดจะเกิดกลุ่มอาการของโรคหัดเยอรมัน(Congenital rubella syndrome : CRS) ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับ purpura ตับโต ตัวเหลือง
การพยาบาล
ให้คำปรึกษาถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในทารก ตามระยะเวลาของการติดเชื้อ และเหตุผลของการสิ้นสุดการตั้งครรภ์
สำหรับสตรีที่ยังไม่ตั้งครรภ์ และไม่มีภูมิคุ้มกันแนะนำให้ฉีดวัคซีน ก่อนตั้งครรภ์ 3 เดือน
ใช้เทคนิค Respiratory isolation (แยกห้อง)
ซิฟิลิส (Syphilis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อ Treponema pallidum ระยะ ฟักตัวประมาณ 10-90 วัน ขึ้นอยู่กับปริมาณที่ได้รับโดยเฉลี่ย ประมาณ 3 สัปดาห์ การติดต่อไปถึงทารกได้ทุกระยะของการตั้งครรภ์ โดยผ่านทางรก ผ่านเยื่อหุ้มทารก หรือสัมผัสโดยตรงจากการคลอด ทางช่องคลอด
อาการ และอาการแสดง
Primary syphilis : แผลขอบแดง นูน เรียบ ไม่เจ็บ
Secondary syphilis : lymphadenopathy มีผื่นทั่วตัว ลักษณะเป็น แผลสีเทาๆไม่เจ็บ ระยะนี้ปริมาณเชื้อสูง
Tertiary syphilis : มีการทำลายอวัยวะต่างๆ โดยผู้ติดเชื้อจะมีอาการทางผิวหนัง ระบบ หลอดเลือด ระบบประสาท
การวินิจฉัย
ตรวจ VDRL ในสตรีที่ฝากครรภ์ครั้งแรก
ทารกแรกเกิดจะตรวจการติดเชื้อโดย เก็บเลือดจากสายสะดือ หรือเจาะ จากเส้นเลือดของทารก
การรักษา
รักษาด้วยยา
Doxycycline 100 mg. รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน หรือ
Tetracycline 500 mg. รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
Benzathine penicillin G 2.4 ล้านยูนิต IM ซ้ำภายใน 7 วัน หรือ
การพยาบาล
ผล VDRL-reactive ต้องนำ คู่สมรสมาตรวจรักษาพร้อมกัน
เน้นให้เห็นความสำคัญของการรักษาต่อเนื่อง และตามผลการรักษา
ตรวจ VDRL เมื่อมาฝากครรภ์ และเมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ป้องกันการแพร่เชื้อโดยการสวมถุงยางทุกครั้ง
ประเมิน และคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
อธิบายผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
หูดหงอนไก (Human papilloma virus / HPV) เกิดจากเชื้อ human papilloma virus type 6 หรือ 11 หรือ HPV ติดต่อโดยตรงทาง การสัมผัสผิวหนังที่เป็นโรค ได้แก่ บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ช่องปาก ทางเดินหายใจ
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
อาจทำให้เกิดมะเร็งได้ถ้าเชื้อที่ทำให้เกิดโรคเป็นชนิด HPV 16 และ 18
การรักษา
Bi/Trichloroacetic acid (B/TCA) ทาสัปดาห์ละครั้ง
podofilox 0.5 % solution /gel ทาบริเวณที่เป็น ห้ามใช้ในขณะ ตั้งครรภ์
การพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค อาการ การรักษา และการแพร่เชื้อ
ทำความสะอาดเพื่อลดการเจริญของเชื้อ
แนะนำการใช้ยาที่ถูก
Safe sex
เน้นให้รับการรักษาต่อเนื่อง และตรวจเช็คมะเร็งปากมดลูกทุกปี
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการคลอด และการดูแลรักษา
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดาสู่ทารก
ไม่ควรเจาะถุงน้ำเนื่องจาก หากถุงน้ำแตกนาน 4 ชั่วโมงจะเพิ่ม อัตราติดเชื้อสู่ทารกเป็น 2 เท่า
การเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมมารดา
การใช้หัตถการต่างๆในการช่วยคลอด
ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักน้อย
Abortion
CD4 ‹ 700 cells/ml. หรือ CD4/CD8 ‹ 0.6
อาการของมารดาการติดเชื้อในโพรงมดลูกหลังคลอด
การพยาบาลมารดาที่ติดเชื้อHIV
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาโรคทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ , การติดเชื้อตา่งๆ ตรวจนับ Cell CD4 ในมารดา ‹ 700cell/ml ทารกติดเชื้อ ‹200cell/ml. ติดเชื้อฉวยโอกาส -ให้ยาต้านไวรัสในระหว่างตั้งครรภ์ AZT 100 mg x 5 times เริ่มให้เมื่อ อายุครรภ์ 14-34 wks.ไปจนถึงระยะคลอด
แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง อาหารกระป๋อง
ระยะคลอด
ให้ยา AZT 300 mg. q 3 hr. ตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์คลอด
ให้คลอดธรรมชาติ/ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง งดใช้หลีกเลี่ยงหัตถการต่าง ให้น้อยที่สุด ท าคลอดให้มีบาดแผลน้อยที่สุด
ระยะหลังคลอด
แยกห้องจากผู้คลอดรายปกติ
งดการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา-ทารก เช่นการอุ้ม การกอด เป็นต้น
การคุมกำเนิด
ให้ยา Nevirapine syr. 2mg./kg. รับประทานครั้งเดียวทันทีที่สามารถรับประทานได้ ร่วมกับ AZT syrup 2mg./kg.ทุก 6 ชั่วโมง นาน 6 สัปดาห์ (เริ่ม 8-12 hr. หลังคลอด)
งด BCG Vaccine ในทารกที่ติดเชื้อ และมีอาการของ HIV