Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทน - Coggle Diagram
การใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทน
การใช้ประโยชน์จากพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
เมื่อเคลื่อนที่จะเปลี่ยนพลังงานจลน์หมุนกังหันให้เป็นพลังงานกล เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า
เป็นทรัพยากรที่เก็บสะสมพลังงานในรูปแบบพลังงานศักย์โน้มถ่วง
ประเภทของพลังงานน้ำ
2.พลังงานน้ำขึ้น น้ำลง
การขึ้น-ลงของน้ำเป็นวัฏจักรธรรมชาติเกิดทุกวัน
เกิดจากอิทธิพลการเคลื่อนที่ของโลกและดวงจันทร์
การเก็บน้ำไว้ในอ่างโดยเฉพาะในเวลาน้ำขึ้น
เวลาน้ำลงใช้กังหันไปตั้งปากอ่างให้น้ำไหลมาสู้กังหันก็จะเกิดการหมุนตัวโดยจะต่อไปกับเครื่องผลิตไฟฟ้า
3.พลังคลื่น
เกิดจากการที่ลมพัดผ่านพื้นผิวของทะเลหรือมหาสมุทร
ขนาดของคลื่นจะอยู่ที่ความเร็วของลมที่พัดผ่านและกังหันน้ำแบบลอยตัว
พลังคลื่นเป็นพลังงานที่ไม่คงที่
1.พลังงานจากน้ำตกหรือเขื่อน
เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานศักย์ของน้ำ
เป็นพลังงานที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากที่สุด
สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าได้มากและคงตัว
ใช้กังหันน้ำเป็นตัวแปลจากพลังงาน
ให้กังหันน้ำรับแรงตกของน้ำจากน้ำตกก่อให้เกิดการหมุนจนเกิดการผลิตไฟฟ้า
ประเภทของโรงไฟฟ้าพลังงานจากน้ำ
โรงไฟ้าพลังน้ำแบบน้ำไหลผ่านตลอดปี (Run-ofthe-river)
ไม่ได้มีการกักเก็บน้ำไว้ทางต้นน้ำ
จะผลิตไฟฟ้าโดยการปล่อยให้น้ำไหลตามธรรมชาติ ผ่านเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
เมื่อน้ำไหลผ่านก็จะผลิตไฟฟ้าได้ทันที
พลังงานไฟฟ้าผลิตมากไปสามารถเก็บไว้ได้
เขื่อนปากมูลจังหวัดอุบลราชธานี
โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ (Pumped-storage)
สร้างบนพื้นฐานความคิดการจัดการกระแสไฟฟ้าส่วนเกิน
เปรียบเสมือนได้กับเเบตเตอรี่พลังงานน้ำ
หลักการการผลิตเหมือนกับโรงไฟฟ้าจากอ่างเก็บน้ำ
โรงไฟฟ้าเขื่อนลำตะคอง โรงไฟฟ้าเขื่อนภูมิพล
สามารถสูบน้ำขึ้นไปอ่างเก็บน้ำด้านบนเพื่อปล่อยน้ำลงมาผลิตไฟฟ้าอีกรอบวนแบบนี้ไปเรื่อยๆ
โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำจากอ่างเก็บน้ำ (Conventional)
การเก็บน้ำที่อ่างเก็บน้ำหรือเขื่อน
เมื่อมีความต้องการไฟฟ้าปล่อยน้ำจากอ่างเก็บน้ำผ่านเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
จะเน้นการชลประทานเป็นหลัก
การผลิตไฟฟ้าเป็นจุดประสงค์รอง
เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิต์
ประโยชน์ของพลังงานน้ำ
เป็นพลังงานหมุนเวียนนำกับมาใช้ใหม่ได้
เครื่องกลพลังงานน้ำสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้รวดเร็ว
น้ำเมื่อได้รับแสงอาทิตย์จะระเหยเป็นไอเมื่อไอควบแน่นจะกลายเป็นเมฆพอมากเข้าจนเมฆรับน้ำหนักต่อไปได้น้ำตกลงมาเป็นฝน
การใช้ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์
การนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์
เพื่อผลิตความร้อน
2.การผลิตน้ำร้อนชนิดใช้ปั๋มน้ำหมุนเวียน
เหมาะสำหรับการใช้ผลิตน้ำร้อนมาก
มีการใช้อย่างต่อเนื่อง
3.การผลิตน้ำร้อนชนิดผสมผสาน
นำเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์ผสมกับความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่องระบายความเย็น
ผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
1.การผลิตน้ำร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ
ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ
เป็นการผลิตน้ำร้อนชนิดที่ถังเก็บอยู่สูงกว่าแผงรับแสงอาทิตย์
เทคโนโลยีการอบแห้ง
2.การอบแห้งระบะ Active
มีเครื่องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการ
มีพัดลมติดตั้งในระบบเพื่อบังคับการไหลของอากาศ
ห้องอบแห้งจะมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำกว่าความชื้นของพืชผล
3.การอบแห้งระบบ Hybrid
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และยังต้องอาศัยพลังงานในรูปแบบอื่น
ช่วยในเวลาที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม่ำเสมอ
ต้องการให้ผลิตผลแห้งเร็วขึ้น
1.การอบแห้งระบบ Passive
ตู้อบแห้งได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง
ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม
เครื่องตากแห้งโดยธรรมชาติ
เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
2.เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจำหน่าย
สำหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนกระแสตรงเป็นกระแสสลับ
ใช้ผลิตไฟฟ้าในเขตเมือง
ประกอบด้วย
แผงเซลล์แสงอาทิตย์
อุปกรณ์เปลี่ยนระบบกระแสตรงเป็นกระแสสลับชนิดต่อกับระบบจำหน่ายไฟฟ้า
3.เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน
สำหรับทำงานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่น
เครื่องยนต์ดีเซล
ไฟฟ้าพลังน้ำ
ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม
รูปแบบระบบขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์
1.เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ
สำหรับใช้งานในพื้นที่ชนบท
ประกอบด้วย
อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่
แบตตอรี่
แผงเซลล์แสงอาทิตย์
อุปกรณ์เปลี่ยนกระแสงตรงเป็นกระแสสลับอิสระ
พลังงานแสงอาทิตย์
เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์เรามาตลอด
เป็นพลังงานที่มนุษย์สามารถใช้ได้ไม่มีวันหมด
ไม่มีแหล่งพลังงานโลกจะมีความเย็นถึง -240 องศาเซลเซียส
อุปกรณ์เปลี่ยนรูปจากพลังงานแสงมาเป็นพลังงานไฟฟ้าได้เลยเรียกว่า โซล่าเซลล์ (Solar Cell)
การผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ในประเทศไทย
เซลล์แสงอาทิตย์ส่วนใหญ่ใช้ในพื้นที่ที่ไม่มีไฟฟ้าเข้าถึง
ระบบประจุผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์เชื่อมต่อกับระบบสายส่ง
ระบบประจุแบตเตอรี่ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
ระบบสูบน้ำ
เริ่มทดลองติดตั้งและทดสอบการผลิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521
ใชกับเครื่องมือบันทึกข้อมูล
ใช้กับเครื่องวัดแผ่นดินไหว
ใช้กับวิทยุสื่อสารสัญญาณไฟกระพริบ
พัฒนาใช้การสาธิตร่วมกับ
พลังงานลม
พลังงานน้ำ