Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความปวด - Coggle Diagram
ความปวด
ผลกระทบจากการเจ็บปวด
1.ระบบโลหิตและระบบหายใจ
กระตุ้นการทำงานของ sympathetic nervous system
2.ระบบต่อมไร้ท่อ
ทำให้ฮอร์โมนที่ตอบสนองต่อความเครียดหลั่งมากขึ้น
3.ระบบกล้ามเนื้อ
กล้สมเนื้อหดเกร็ง เคลื่อนไหวลดลง
4.ระบบย่อยอาหาร
ลำไส้เคลื่อนไหวลดลง
5.ระบบทางเดินปัสสาวะ
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะทำงานน้อยลง
6.ด้านจิตใจและจิตสังคม
ทำให้เกิดความวิตกกังวล นอนไม่หลับ และซึมเศร้าได้
7.ระบบภูมิคุ้มกัน
กระตุ้นกระบวนการอักเสบ ลดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
กลไกการเกิดความปวด
มี 2 ทฤษฎีที่ใช้ในอธิบาย
Gate control theory
2.Endophins
1.มีการกระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึก
2.การนำสัญญาณความปวดที่ระดับไขสันหลัง
3.การรับรู้ของสมอง
4.การยับยั้งสัญญาณปวดที่สมอง ยับยั้งได้ 2 ทาง 4.1.ยับยั้งในระดับสมอง 4.2.ยับยั้งในระดับไขสันหลัง
การประเมินความปวด
1.มาตรวัดความปวดแบบตัวเลข
2.มาตรวัดความปวดด้วยสายตา
3.มาตรวัดความปวดด้วยใบหน้า
4.การประเมินความปวดจากการสังเกตพฤติกรรม
5.การประเมินทางสรีรวิทยาที่ตอบสนองต่อความเจ็บปวด
การบรรเทาอาการปวด
แบบใช้ยา
ขั้นที่ 1 ใช้ยา non opioid
ขั้นที่ 2 ใช้ยา opioid ที่มีฤทธิ์อ่อน
ขั้นที่ 3 ใช้ยา opioid ที่มีฤทธิ์แรง
แบบไม่ใช้ยา
1.Phycological therapy
2.Physical therapy
นิยามความปวด
ความรู้สึกหรืออารมณ์ไม่สุขสบาย ซึ่งอาจเกี่ยวเนื่องจากเนื้อเยื่อร่างกายถูกทำลาย
ชนิดของความเจ็บปวด
แบ่งตามระยะเวลาที่เกิด
1.ความปวดเฉียบพลัน เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ
2.ความปวดเรื้อรัง เกิดขึ้นอย่างตลอดเวลามากกว่า 6 เดือน
3.ความปวดจากมะเร็ง