Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการทำงาน (Occupational Disease), นางสาวซารีนี เจ๊ะเง๊าะ รหัสนิสิต…
โรคจากการทำงาน
(Occupational Disease)
หลักการวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ
การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
การซักประวัติผู้ป่วย
ประวัติการทำงานและลักษณะการทำงาน
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยและลักษณะอาการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
โรคประจำตัวของผู้ป่วยและบุคคลในครอบครัว
ประเภทและกลุ่มโรคจากการทำงานที่สำคัญ
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
จำแนกโดยสภาพการออกฤทธิ์ภายในและภายนอกเซลล์พืช
สารกำจัดศัตรูพืชประเภทสัมผัสตาย
สารกำจัดศัตรูพืชประเภทดูดซึม
จำแนกโดยอาศัยกลุ่มเป้าหมาย
จำแนกโดยโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของสาร
สารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต
สารกลุ่มไพรีทรอยด์
สารกลุ่มออร์กาโนคลอรีน
กลุ่มโรคที่เกิดข้ึนจากสาเหตุทางกายภาพ
โรคหูตึงจากเสียงดัง
องค์ประกอบที่ทำให้หูตึงหรือประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง
ระยะเวลาที่ได้ยินเสียง, ลักษณะของเสียง
ความไวต่อการเสื่อมของหู
ระดับความดันเสียง, ความถี่ของเสียง
หูตึงจากเสียงดังอาจเกิดเป็นขั้นตอน
หูตึงชั่วคราว (Temporary Threshold Shift)
หูตึงถาวร (Permanent Threshold Shift)
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ
ทางการกิน
ในกรณีที่สุขอนามัยส่วนบุคคลไม่ดี อาจได้รับเชื้อโดยการกิน
ทางการหายใจ
การติดเชื้อไข้หวัด หัดเยอรมัน (Rubella) วัณโรคปอด เป็นต้น
การสัมผัสทางผิวหนัง
มีโอกาสสูงจากถูกทิ่มหรือตาโดยเข็มฉีดยา (needle stick injury) หรือถูกบาดจากมีดผ่าตัด
กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคซิลิโคซิส (Silicosis)
โรคแอสเบสโตซิส(โรคปอดจากแร่ใยหิน;
Asbestosis )
โรคบิสสิโนซิส (Byssinosis)
กลุ่มโรคผิวหนังจากการทำงาน
โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูกจากการทำงาน
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
ชนิดของมะเร็งที่เกิดข้ึนในร่างกาย
มะเร็งซาร์โคมา (Sarcoma)
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งคาร์ซิโนมา (Carcinoma)
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งผิวหนัง (Melanoma)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
โรคจากฝุ่นซิลิกา
โรคจากภาวะอับอากาศ
โรคจากตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว
โรคจากแอสเบสตอส(ใยหิน)
โรคหรืออาการสาคัญของพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช
โรคและปัญหาสุขภาพจากการทำงานในสถานบริการ
การทำงานเวลาเป็นกะ
การใช้ความรุนแรง
การบาดเจ็บที่เกิดจากการออกแรงกล้ามเนื้อ
ความปลอดภัยทางรังสี
ภาวะปวดหลัง
สารเคมี
โรคติดเชื้อ
เสียง
ความหมาย ลักษณะ และชนิดของโรค
โรคจากการประกอบอาชีพ (occupational Diseases)
เกิดขึ้นกับคนทำงานมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทำงาน
โรคเนื่องจากงาน (work-related Diseases)
เกิดขึ้นกับคนทำงาน มีสาเหตุจากปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน การทำงานในอาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค
โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (environmental diseases)
ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษปนเปื้อน ในดิน น้ำ อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์
การเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน
การป้องกันเชิงรุกในระดับปฐมภูมิ
(primary prevention)
การเฝ้าระวังทางด้านชีวภาพ
การเฝ้าระวังทางการแพทย์
การเฝ้าระวังทางด้านสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน
แบ่งเป็น 3 ประเภท
สภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
แบ่งเป็น4กลุ่ม
สภาพแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีในสิ่งแวดล้อมการทํางาน
อากาศที่จําเป็นในการหายใจ
สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
ยุงลายนําโรคไข้เลือดออก
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ความร้อน, ความเย็นแสง
เสียง, อุณหภูมิ
ความชื้น
สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
ขนบธรรมเนียม
ประเพณี
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อมทั่วไป(environment)
สิ่งแวดล้อมนอกสถานประกอบการบ้านเรือนหรือ ชุมชนโดยรอบ สภาพที่ตั้งของสถานประกอบการที่เสี่ยงภัยต่อการเดินทาง
คนทำงานหรือผู้ประกอบอาชีพ(worker)
คุณสมบัติพื้นฐาน
โรคประจำตัว
ความอ้วน, พันธุกรรม
เพศ, อายุ, ความสูง
ประสบการณ์การทำงาน
พฤติกรรมทางสุขภาพของคนทำงาน
ระบาดวิทยาของโรคจากการทำงาน
ตรวจหรือสืบหาการสัมผัสสิ่งคุกคาม
วัดประสิทธิผลของระบบการป้องกันและควบคุมโรคภัย
การประเมินประสิทธิภาพของวิธีการตรวจคัดกรองโรคหรือความผิดปกติ
ชี้บ่งกลุ่มคนทำงานที่มีความเสี่ยงสูง
นางสาวซารีนี เจ๊ะเง๊าะ รหัสนิสิต 632051127