Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
**บทที่3 …
**บทที่3 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า : EF
แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ตามหลัก
การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
ทฤษฎีที่ 3 การเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การคิดเชิงวิพากษ์ พิจารณาจนเกิดข้อสงสัยและโต้แย้ง
การคิดเชิงประยุกต์หรือปรับมาใช้เพื่อเกิดประโยชน์
การคิดเชิงมโนทัศน์ เชื่อมโยงความคิดให้เป็นระบบ
การคิดเชิงกลยุทธ์
การคิดเชิงวิพากษ์ พิจารณาจนเกิดข้อสงสัยและโต้แย้ง
การคิดเพื่อแก้ไขปัญหา
การคิดสังเคราะห์ สิ่งใหม่ๆ
การคิดเชิงบูรณาการ
เปรียบเทียบความแตกต่าง
การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดวิเคราะห์ จำแนก แยะแยะ
การคิดเชิงอนาคต สามารถนำสิ่งที่คาดการณ์นั้นมาใช้ประโยชน์ได้
ทฤษฎีที่ 4 การเรียนรู้เพื่อพัฒนา
สุนทรียภาพและลักษณะนิสัย
ศิลปะ ดนตรีกีฬา
มีความสอดแทรกหลักการของ
ความเหมือน หลักการของความแตกต่าง
หลักการของความเป็นฉันการผ่อนคลายทางอารมณ์
ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
ทฤษฎีที่ 2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
รูปแบบการถ่ายทอดความรู้
การคิดเปรียบเทียบ มีความสามารถในการพิจารณา เปรียบเทียบได้สองลักษณะ คือ การเทียบความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างสิ่งหนึ่งกับสิ่งอื่น ๆ
ทฤษฎีที่ 5 การเรียนรู้เพื่อพัฒนา สุนทรียภาพและลักษณะนิสัย
การฝึกฝนกาย วาจา ใจ
สอนโดยใช้การแฝงสาระ
การพูดคุยถามความเห็นไม่ใช่ให้เด็กจำ ในสิ่งที่สั่งฟังในสิ่งที่พูด
สอนโดยใช้อุทาหรณ์แล้วตั้งคำถามให้เด็กตอบ แล้วให้เด็กสรุปด้วยตัวเอง
ทฤษฎีที่ 1
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
คือเด็กแต่ละคนต้องได้รับการยอมรับว่า เป็นมนษุย์ที่มีหวัใจเด็กมสีทิธิ์ที่จะเป็นตัวเองไม่เหมือนใคร
ทฤษฏีที่ 6 ทฤษฏีพหุปัญญา Brain Based Learning
(Howard Gardner)
ทุกคนมีสติปัญญาเหมือนกันแต่อยู่ที่ใครเด่นด้านใด
ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์
ปัญญาด้านดนตรี
ปัญญาด้านภาษา
ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์
ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง
ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา