Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัยพิภัยเเละการจัดการทรัพยากร - Coggle Diagram
ภัยพิภัยเเละการจัดการทรัพยากร
หมายถึง
ภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้เกิดอันตราย
และเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นใน 3 ลักษณะ คือ ภัยพิบัติที่
เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นบนผิวโลก เช่น การเกิด
แผ่นดินถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า และภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ เช่น วาตภัย ภาวะโลกร้อน ลูกเห็บ
ฟ้าผ่า เป็นต้น
เเผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แผ่นดินมีการสั่นสะเทือน ซึ่งเกิดจากอิทธิพล
ของแรงบางอย่างที่อยู่ใต้พื้นโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคลื่นของแผ่นดินไหวจะกระจายไปสู่บริเวณส่วนต่างๆ ของ
โลก และถ้าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวเป็นไปอย่างรุนแรง อุปกรณ์ตรวจจับคลื่นที่อยู่ห่างออกไปไกลนับ
สึนามิ
ึนามิ(Taunami) เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างหนึ่ง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า “คลื่นอ่าวจอดเรือ”
(Haebour Waver) ซึ่ง สึ ค าแรก แปลว่า ท่าเรือ ( Harbour) ส่วนค าที่สอง นามิ แปลว่า คลื่น (Wave) ใน
บางครั้งก็อาจเรียกว่า “Seismic Wave” ปัจจุบันใช้ค าเรียกกลุ่มคลื่นที่มีความยาวคลื่นมากๆ ขนาดหลายร้อย
กิโลเมตร นับจากยอดคลื่นที่ไล่ตามกันไป
อุทกภัย
อุทกภัย (Flood) คือ ภัยที่เกิดจากน้ าท่วม ซึ่งเป็นน้ าที่ท่วมพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นครั้งคราว
เนื่องจากมีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ท าให้น้ าในล าน้ าหรือทะเลสาบไหลล้นตลิ่งหรือป่าลงมาจากที่สูง ส่งผล
ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
แผ่นดินถล่ม
แผ่นดินถล่ม (Landslides) คือ การเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนที่ของดินหรือหิน ตามบริเวณพื้นที่ลาดชันที่เป็นภูเขาหรือเนินเขา
วาตภัย
ป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลมแรง สามารถแบ่งลักษณะของวาตภัยได้ตาม
ความเร็วลม สถานที่ที่เกิด เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุดีเปรชัน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น ท าให้เกิด
ความเสียหายให้แก่ชีวิตของมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ
1)ปัจจัยที่ท าให้เกิดวาตภัย มีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม
หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่เกิดจากการสร้างขึ้นของมนุษย์ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดล้อมมีสมบัติเฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมจะไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ จะมีความต้องการต่อสิ่งอื่นๆ เสมอ หรือกล่าวได้ว่าสิ่งแวดล้อมต้องอยู่เป็นระบบถ้าสิ่งแวดล้อมหนึ่งถูกกระทบย่อมมีผลต่อสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ด้วยเสมอ
ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งหรือทรัพย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ กระบวนการต่างๆ
ทางฟิสิกส์ เคมี และสิ่งเหล่านั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม นักอนุรักษ์
วิทยาแบ่งทรัพยากรธรรมชาติไว้ 3 ประเภท ได้แก่ ทรัพยากรฯ ที่ใช้แล้วไม่หมด ทรัพยากรฯ ที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ และทรัพยากรฯ ที่ใช้แล้วหมด
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์ลึกซึ้งแยกจากกันไม่ได้ ถ้าสิ่งหนึ่งสิ่งใดถูกกระทบกระเทือนย่อมมีผลต่อสิ่งอื่นๆ ด้วยเสมอ ดังนั้น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ต้องเป็นไปตามหลักอนุรักษ์วิทยา นั่นคือ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าที่สุด ใช้ให้ได้นานที่สุด ผลกระทบน้อยที่สุดและเหมาะกับกาลเวลาที่จะใช้ รวมทั้งขณะใช้ถ้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถเกิดทดแทนได้ต้องพยายามหาสิ่งทดแทนเสมอ