Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 …
บทที่3 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า : EF
(Executive Functions) สำหรับเด็กปฐมวัย
องค์ประกอบของทักษะสมองส่วนหน้า
ทักษะสมองส่วนหน้า มี 9 ด้าน
ทักษะสูง (Advance)
Self - Monitoring (ติดตาม ประเมินตนเอง)
Emotional Control (ควบคุมอารมณ์)
Initiating (ริเริ่มและลงมือทำ)
Planning and Organizing (วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ)
Focus หรือ Attention (จดจ่อ ใส่ใจ)
Goal - Directed Persistence (มุ่งเป้าหมาย)
ทักษะพื้นฐาน (Basic)
Inhibitory Control (ยั้งคิด ไตร่ตรอง)
Shifting หรือ Cognitive Flexibility (ยืดหยุ่นความคิด)
Working Memory (ความจำเพื่อใช้งาน)
กระบวนการพัฒนาทักษะสมอง
ส่วนหน้าสำหรับเด็กปฐมวัย
สภาพแวดล้อม จัดทั้งด้านกายภาพ จิตภาพ และสังคม Rich Environment
การจัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning สอดคล้องกับ
โครงสร้างการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรสถานศึกษา
ให้โอกาสเรียนปนเล่น Play to Learn ด้วยกิจกรรมหลากหลาย เช่น ศิลปะ สร้างสรรค์
หลักการเรียนรู้ เป็นไปตามพัฒนาการเด็กปฐมวัย สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะ
สมองส่วนหน้า
ส่งเสริมวินัยเชิงบวก ให้กำลังใจ เสริมแรง ให้มีจิตสำนึก ความเห็นอกเห็นใจ
ความหมายและความสำคัญ
ของทักษะสมองส่วนหน้า
เป็นกระบวนการทำงานของสมองส่วนหน้าของมนุษย์ทุกคน ที่ใช้ในการกำกับความคิด
ความรู้สึกและการกระทำ เพื่อให้บรรลุสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้