Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน, image, image, image, image, image, image, image,…
สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้
การรายงานผลการเรียนรู้ ที่ได้จากการรวบรวมผลการเรียนรู้ คัดแยกสาระสำคัญ จัดหมวดหมู่ จัดระบบข้อมูล และการเขียนรายงานในรูปแบบวิชาการและแบบบูรณา โดยใช้ภาษาสื่อที่กระชับ ได้ใจความ รวมถึงวิธีการรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งแบบเอกสารแบบบรรยาย แบบศิลปะ และแบบนิทรรศการ เป็นต้น
ขั้นตอนการเรียนรู้
สรุปและเรียบเรียง
เรียนรู้รูปแบบการเขียนรายงาน
แบบวิชาการ
แบบบูรณาการ
กำหนดรูปแบบการเขียนรายงาน
รวบรวมผลการเรียนรู้
เรียนรู้วิธีการรายงานผล
เอกสาร เช่น หนังสือ แผ่นพับ
บรรยาย เช่น การเล่านิทาน อภิปราย สัมมนา
ศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพื้นบ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
นิทรรศการ
กำหนดวิธีการรายงานผล
คัดแยกสาระสำคัญ และจัดให้เป็นหมวดหมู่
วิเคราะห์ เรียบเรียงสาระ
จัดระเบียบข้อมูลสาระแต่ละด้าน
จัดลำดับสาระหรือกลุ่มสาระ
องค์ประกอบที่ 2 การรวมพรรณไม้เข้าปลูก
การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน จัดให้มีการศึกษาธรรมชาติ สำรวจสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ตามผังพรรณไม้ เพื่อกำหนดชนิด การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ รวมถึงการเลือกวัสดุที่ใช้สำหรับปลูก และจัดทำผังภูมิทัศน์แสดงรายละเอียดการจัดหาพรรณไม้ การเพาะปลูก
จากนั้นทำการศึกษาพรรณไม้หลังการปลูกโดยการบันทึกการดูแลรักษา การเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
ขั้นตอนการเรียนรู้
1) ศึกษาข้อมูลจากผังพรรณไม้เดิมและศึกษาธรรมชาติของพรรณไม้
2) สำรวจ ศึกษา วิเคราะห์สภาพพื้นที่
3) พิจารณาคุณ และสุนทรียภาพของพรรณไม้
4) กำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่
5) กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูก
6) ทำผังภูมิทัศน์
7) จัดหาพรรณไม้ วัสดุปลูก
8) ปลูกพรรณไม้เพิ่มเติม
9) ศึกษาพรรณไม้หลังการปลูก
องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ
การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ ทางด้านข้อมูลพื้นบ้าน ข้อมูลพรรณไม้ การสืบค้นข้อมูลด้านพฤกษศาสตร์ การศึกษาพรรณไม้ที่สนใจอย่างละเอียดทั้งโครงสร้างภายนอกและภายใน
การกำหนดเรื่องที่จะเรียนรู้ในองค์ประกอบส่วนย่อยของพรรณไม้ที่สนใจและเปรียบเทียบความต่างแต่ละเรื่องกับพืชชนิดเดียวกัน โดยมีการตรวจสอบผลงานเป็นระยะ
ขั้นตอนการเรียนรู้
ศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
มีส่วนร่วมของผู้ศึกษา
ศึกษาข้อมูลพื้นบ้าน
ศึกษาข้อมูลพรรณไม้
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
สืบค้นข้อมูลพฤกษศาสตร์
บันทึกข้อมูลเพิ่มเติม
ตรวจสอบผลงานเป็นระยะ
ความเป็นระเบียบ ความตั้งใจ
ศึกษาพรรณไม้ที่สนใจ
ศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแต่ละส่วนโดยละเอียด
กำหนดเรื่องที่จะเรียนรู้ในแต่ละส่วนของพืช
เรียนรู้แต่ละเรื่อง แต่ละส่วนขององค์ประกอบย่อย
นำข้อมูลมาเปรียบเทียบความต่างในแต่ละเรื่องในชนิดเดียวกัน
องค์ประกอบที่ 5 การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาโดยการบูรณาการสู่การเรียนการสอน การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ บันทึกข้อมูล รวบรวมเป็นพิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่อง พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา รวมถึงการเผยแพร่องค์ความรู้ การใช้และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนการเรียนรู้
เผยแพร่องค์ความรู้
จัดสร้างแหล่งเรียนรู้
นำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน
ใช้ ดูแลรักษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ด้านวิชาการ
1) การพัฒนาด้านการศึกษา เช่น การจัดทำหลักสูตร การเขียนแผนจัดการเรียนรู้
2) ศิลปะ เช่น การจัดแสดงผลงานทางวิชาการ การออกแบบแหล่งเรียนรู้
3) การสื่อสารทางการศึกษา เช่น การสนทนา เสวนา สัมมนา อภิปราย การจัดแสดงในรูปแบบต่าง ๆและเอกสาร
ด้านภูมิปัญญา
1) การเรียนรู้ตลอดชีวิต
2) การสร้างองค์ความรู้ขึ้นใหม่
3) การใช้องค์ความรู้
ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1) ความรับผิดชอบ
2) ความเอื้ออาทร เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
3) ความสามัคคี
4) มนุษยสัมพันธ์
องค์ประกอบที่ 1 การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ขั้นตอนการเรียนรู้
บันทึกหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
ทำตัวอย่างพรรณไม้
ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป
ทำผังแสดงตำแหน่งต้นไม่
จัดระบบข้อมูลทะเบียนพรรณไม้
ตั้งชื่อหรือสอบถามชื่อ และศึกษาข้อมููลพื้นบ้าน
ทำร่างป้ายชื่อพรรณไม้
ทำและติดป้ายรหัสประจำต้น
ตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์
สำรวจพรรณไม้ที่จะศึกษา
ทำป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
กำหนดพื้นที่ที่จะศึกษา
การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้โดยการเรียนรู้การกำหนดพื้นที่ศึกษา สำรวจและจัดทำผังพรรณไม้แล้วศึกษาพรรณไม้ทำตัวอยํางพรรณไม้นำข้อมูลมาทำทะเบียนพรรณไม้ ทำและติดแสดงป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์นำไปสู่การรู้ชื่อ รู้ลักษณะต่าง ๆ รวมถึงรู้จักการใช้ประโยชน์ของพืช
ป้ายชื่อพรรณไม้ประกอบด้วย
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อวงค์
ชื่อพื้นเมือง
ชื่อสามัญ
รหัสพรรณไม้
ประโยชน์
นางสาวสริตา กัลพฤกษ์ 611120418 Gen-Science