Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาววิมลสิริ กะหมาย…
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
HBV
ติดต่อไปยังทารกได้ทารก และเลือด
การรักษา
รับประทานอาหารโปรตีนสูง ไขมันต่ำ ดื่มน้ำมากๆ
มารดาได้รับเชื้อ ควรฉีด HBIG และ HBV ใน 14 วันหลังทราบว่าติดเชื้อ
ทารกได้รับ HBIG 0.5 ml/kg ใน 12 hrs. หลังคลอด ตามด้วย Hepatitis vaccine โดยฉีดคนละข้างกับ HBIG และกระตุ้นซ้ำเมื่อ 1 . 6 เดือน
Rubella
ผลต่อการตั้งครรภ์ => Preterm , Abortion , ตายคลอด
ผลของโรค => ตับโต ตัวเหลือง ผิดปกติแต่พิการ ต้อกระจก ต้อหิน ตาเล็ก โรคหัวใจ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกร็ดเลือดต่ำ พัฒนาการช้า
การพยาบาล
Respiratory isolation (แยกห้อง)
ฉีดยาก่อนท้อง 3 เดือน
Syphilis
Treponema pallidum ฟักตัว 10-90 วัน ติดต่อไปหาทารกในทุกระยะของการตั้งครรภ์
อาการ
Early infection state ภายใน 1 ปีแรกหลังรับเชื้อ
Primary syphilis : แผลขอบแดง นูน เรียบ ไม่เจ็บ หายได้ 3-8 wks. และเข้าสู่ระยะต่อไป
Secondary syphilis : lymphadenopathy มีผื่นทั่วตัว แผลสีเทา ไม่เจ็บ คล้ายกระหล่ำดอก (condyloma lata) ต่อมน้ำเหลืองโต มีไข้ ปวดข้อ
Late noninfection state หลัง 1 ปี (ไม่มีอาการ ตรวจเลือดเจอ)
Tertiary syphilis : ทำลายอวัยวะต่างๆ มีอาการทางผิวหนัง หลอดเลือด ระบบประสาท
การวินิจฉัย
ตรวจ VDRL และยืนยันด้วย TPHA & FTA-ABS ผล VDRL > 1:8 = Reactive
ตรวจทารก เก็บเลือดจากสายสะดือ / เก็บเลือดจากสายสะดือ / เจาะจากเส้นเลือดทารก VDRL & FTA-ABS-IgM
การรักษา
Benzathine penicillin G 2.4 ล้านยู IM ซ้ำใน 7 วัน
Doxycycline 100 mg รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน
Tetracycline 500 mg รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 14 วัน
การพยาบาล
ประเมินและคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ตรวจ VDRL first ANC และ 28 wks.
ผล VDRL-reactive ต้องนำสามีมาตรวจด้วย
แนะนำรักษาต่อเนื่อง
ป้องกันการแพร่เชื้อโดยสวมถุงยาง
บอกผลที่จะเกิดกับทารก
HPV
เชื้อ human papilloma virus type 6 หรือ 11 หรือ HPV ทำให้เกิด cervical neoplasia ติดต่อจากการสัมัสผิวหนังที่เป็นโรค
ผลต่อการตั้งครรภ์ => จะมีหูดขนาดใหญ่ขึ้นจากการมีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น ทำให้ขัดขวางหนทางคลอด ทำให้คลอดลำยาก และตกเลือดขณะคลอด และหลังคลอด ทำให้เกิดมะเร็งได้ ถ้าเป็น HPV 16 18
การรักษา
บรรเทาด้วยยา
=> Podofilox 0.5% solution/gel * ห้ามใช้ตอนท้อง
=> Bi/trichloroacetic acid (ฺB/TCA) สัปดาห์ละครั้ง
ตัดเอาติ่งหูดออก
=> Cryotherapy , eletrocauterry , laser therapy , surgical excision ทำทีละน้อย 2-3 ครั้ง
การพยาบาล
ทำความสะอาดลดการเจริญของเชื้อ
แนะนำการใช้ยา
Safe sex
F/U ทุกปี
HIV
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่าย => T-cell , complement และ Phygocytic activity ทำลาย CD4
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดาสู่ทารก
CD4 < 700 cells/ml / CD4/CD8 < 0.6
Abortion , preterm , LBW ,
ไม่เจาะถุงน้ำ ถ้าถุงน้ำแตกนาน 4 hrs จะเพิ่มเป็น 2 เท่า
การวินิจฉัย
มารดา => เจาะหาเชื้อ PA , ELISA , Western blot
ทารก
=> Antibody ทารกอายุ 15-18 เดือน
=> ViralDNA(Antigen) วิธี PCR หรือแยกเชื้อในเดือนแรก
CD4 < 200 cell/ml
การใช้ยา
Lamivudine (3TC) + Stavaudine (d4T) + Nevirapine (NPV) ร่วมกับ AZT
AZT 300 mg q 3 hrs จนคลอด รวมกับ Nuvirapine (NPV) 200 mg 1 เม็ด ครั้งเดียว
*
มีอาการข้างเคียง Bone marrow , Periodic hematocrit ต้องตรวจประเมิน WBC & Plt
การพยาบาลมารดา
ระยะตั้งครรภ์
=> AZT 100 mg x 5 time เมื่ออายุครรภ์ 14-34 wks - คลอด
=> หลีกเลี่ยงหมักดอง กระป๋อง แอลกอฮอล์ น้ำอัดลม ดื่มน้ำสะอาด
ระยะคลอด
=> AZT 300 mg q 3 hr ตั้งแต่เจ็บท้องคลอด
=> ทำคลอดให้มีบาดแผลน้อยที่สุด หลัก universal precaution
*น้ำเดิน ให้คลอดใน 4 hr
หลังคลอด
=> คลุมกำเนิด ใช้ยา Nevirapine syr 2mg/kg กินทันทีที่กินได้ + AZT syrup 2mg/kg q 6 hr นาน 6 wks (เริ่ม 8-12 hr หลังคลอด
** งด BCG Vaccine ในทารกติดเชื้อ / มีอาการ
นางสาววิมลสิริ กะหมาย รหัสนักศึกษา 6203400006