Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสาระสำคัญ - Coggle Diagram
สรุปสาระสำคัญ
:star:
บทที่ 1 บทนำ ความสำคัญของปัญหา
:lock:การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างไรเพื่อให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก จากโลกปัจจุบันเป็นโลกที่เข้าสู่การเป็นอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งเป็นระบบการทำงานการดำรงชีพที่ถูกขับเคลื่อนผ่านเทคโนโลยีและนวัตกรรมชั้นสูงเป็นสำคัญ โดยการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในโลกอุตสาหกรรม ทุกวันนี้ยังคงก็เผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายด้านสังคมเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่จะส่งผลต่อความท้าทายในการดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ได้ทั้งสิ้น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสิ่งแวดล้อม
ทั้งนี้ การเตรียมกำลังคนให้สามารถเข้าสู่บริบทได้นั้น จำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมของการวางแผนในระยะยาว โดยเริ่มตั้งแต่ก่อนเกิดจากการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพไปจนถึงการสร้างระบบการศึกษา เพื่อเรียนรู้ตลอดทั้งช่วงชีวิต โดยเฉพาะตั้งแต่ในช่วงวัยเด็กเล็กซึ่งเป็นรากฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาทุนมนุษย์
:warning:วัตถุประสงค์ :warning:
แนวโน้มการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศไทยในอนาคตต้องการศึกษารูปแบบในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัยโดยหน่วยงานองค์กรและภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่จัดและร่วมการจัดการศึกษา
ผลการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยทั้งในด้านคุณภาพประสิทธิภาพรวมถึงโอกาสการเข้าถึงโดยให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณที่ใช้ข้อมูลการสำรวจในระดับประเทศ
4 จะทำข้อเสนอเชิญให้สบายการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในประเทศไทยที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบันการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย เช่น หน่วยงานที่จัดการศึกษาปฐมวัยรูปแบบมาจากการศึกษาปฐมวัยปฐมวัยในแต่ละสังกัดนโยบายที่เกี่ยวข้องปัญหาและความท้าทาย
:warning:
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
:warning:
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาและการพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถนำข้อมูล องค์ความรู้ จากรายงานวิจัย พร้อมข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาสำหรับเด็กในประเทศไทยที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 รายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีไปวางแผนการจัดการศึกษาเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีคุณภาพ
องค์ความรู้ที่ได้สามารถใช้สนับสนุนการจัดทำนโยบายแผนยุทธศาสตร์ด้านการจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศไทย
องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยสามารถนำมาต่อยอดในการทำวิจัยต่อเนื่องในด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยในลักษณะของการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมหรือการได้มาซึ่งข้อมูลที่งานวิจัยชิ้นนี้ไม่สามารถเข้าถึงได้
:black_flag:กรอบแนวคิดในการศึกษา
สำหรับกรอบแนวคิดในการศึกษาสภาวะการปฐมวัยในประเทศไทย 3 ด้าน ได้แก่ การเข้าถึง ประสิทธิภาพ และคุณภาพ ภายใต้สภาวะการทั้งในอดีตปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
:pencil2:องค์ประกอบในการวิเคราะห์
1. การเข้าถึง
ดูวิเคราะห์การเข้าถึงได้หลายแง่มุมมองแต่การเข้าถึงการตั้งครรภ์และการดูแลเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม
2. ประสิทธิภาพ
ซึ่งการศึกษาสภาวะการปฐมวัยจะวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการดำเนินนโยบายของรัฐบาลหรือโครงการของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
3. คุณภาพ
วิเคราะห์ผ่านสองทาง ทางแรก คือ ปัจจัยนำเข้าเช่นการวิเคราะห์คุณภาพของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทางสอง คือ จากผลลัพธ์ของพัฒนาการ
:check:ผลลัพธ์ในการวิเคราะห์การพัฒนาเด็กปฐมวัย
เนื่องจากพัฒนาการของเด็กสามารถวัดได้ในหลายรูปแบบ ดังนั้นการวิเคราะห์การพัฒนาเด็กปฐมวัยของโครงการศึกษานี้ จึงได้อิงกับพัฒนาการ 4 ด้าน ที่ถูกแทนด้วย H หรือที่เรียกว่า 4 H มีรายละเอียดดังนี้
1.พัฒนาการทางด้านสมอง
เป็นการพัฒนาทางด้านสติปัญญาการเรียนรู้ทางด้านการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการประเมินสิ่งต่างๆ และการตัดสินใจอยู่บนหลักเหตุผล
2. พัฒนาการทางด้านจิตใจ
เป็นการปลูกฝังคุณค่าทางจิตสำนึกการรับรู้ถึงการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมสังคม การประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
3. การพัฒนาทางทักษะการปฏิบัติ
เป็นการส่งเสริมทักษะทางด้านการทำงานความสามารถและความถนัดต่างๆที่สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพของบุคคล
4. การพัฒนาสุขภาพ
เป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ทางด้านการดูแลสุขภาพ เสริมสร้างสุขนิสัยให้เป็นผู้มีสุขภาพดี ที่สามารถปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้
:pencil2:ช่วงวัยพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่กำลังศึกษา
ช่วงตั้งครรภ์ตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงคลอด
ช่วงทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ปี
ช่วงเด็กวัยหัดเดินตั้งแต่อายุ 1 ปีจนถึงอายุ 3 ปี
ช่วงเด็กก่อนวัยเรียนตั้งแต่อายุ 3 ปีถึงอายุก่อนเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1(อายุประมาณ 6 ปี)
:star:บทที่ 6 สภาพและผลการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ด้านคุณภาพ
การวิเคราะห์ประเด็นคุณภาพของสถานการณ์ในเด็กปฐมวัยงานศึกษานี้จะทำการวิเคราะห์ 2 ส่วน คือ
การวิเคราะห์คุณภาพของการให้บริการเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
การวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของเด็กปฐมวัย
การวิเคราะห์ดังกล่าวจะใช้การทบทวน เอกสาร งานศึกษาที่ผ่านมา การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ และข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง จากนั้นนำมาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือเศรษฐมิติโดยเฉพาะประเด็นปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของเด็กปฐมวัย
6.1 กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์คุณภาพการพัฒนาของเด็กปฐมวัย
6.2 การวิเคราะห์คุณภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การวิเคราะห์คุณภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัยจะเริ่มจากการวิเคราะห์ถึงคุณภาพการให้บริการโดยเฉพาะการศึกษาระดับปฐมวัยของไทยในปัจจุบัน เพื่อให้มีความเชื่อมโยงกันตั้งแต่การวิเคราะห์ การเข้าถึง ประสิทธิภาพ ตลอดจนไปสู่การวิเคราะห์คุณภาพการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่สะท้อนผ่านพัฒนาการของเด็ก
6.2.1 คุณภาพของสถานศึกษาในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
คุณภาพของสถานศึกษาในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของไทยสามารถวิเคราะห์ สถานการณ์ปัจจุบันผ่านผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับปฐมวัย ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา การประเมินมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ ประกอบไปด้วยการวัดคุณภาพ 12 ด้าน 3 กลุ่มหลัก คือ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 8 ด้าน กลุ่มบ่งชี้อัตลักษณ์ 2 ด้าน และกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 2 ด้าน
ด้านที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย
ด้านที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
ด้านที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
ด้านที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย
ด้านที่ 5 เด็กมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป
ด้านที่ 6 ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ด้านที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา
ด้านที่ 8 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน
ด้านที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้ง
ด้านที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ด้านที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
ด้านที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานและพัฒนาสู่ ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา
6.2.2 คุณภาพการพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านพัฒนาการของเด็ก
6.3 แนวทางการยกระดับคุณภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
รัฐบาลประเทศต่างๆ ได้เห็นความสำคัญของเด็กปฐมวัย เป็นวัยแห่งการเริ่มต้นในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ รัฐบาลจึงได้หาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อพัฒนาให้เด็กมีรากฐานที่ดี เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาประเทศและแข่งขันกับนานาประเทศได้ ผลการศึกษาชิ้นนี้ชี้ชัดแล้วว่า
4 more items...
:star:บทที่ 4 สภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย ด้านการเข้าถึง
:fire:
กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์การเข้าถึงการพัฒนาเด็กปฐมวัย
แนวคิดของ Penchansky and Thomas (1981)โดยสามารถสรุปปัจจัยในการวิเคราะห์ตามองค์ประกอบได้ ดังนี้
1 การเข้าถึง
2 ความเพียงพอ
3 ความสนใจในการจ่าย
:warning:
แนวคิดภายใต้ 4A และปัจจัยอื่น ๆ มีดังนี้
ปัจจัยทางด้านประชากร
ปัจจัยทางด้านปัจเจกบุคคลและจิตวิทยา
ปัจจัยสถาบันการจ่ายเงินเข้าเรียน
ปัจจัยทางด้านสังคม
ปัจจัยทางด้านการเมืองและนโยบายภาครัฐ
การวิเคราะห์การเข้าถึงในช่วงตั้งครรภ์
ช่วงตั้งครรภ์หรือตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงคลอด โดยเด็กที่คลอดออกมาจำเป็นต้องมีสุขภาพแข็งแรง มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์จนเกิดการแท้ง ไม่สามารถมีชีวิตรอดจนกระทั่งเมื่อคลอดออกมา ซึ่งจะตรงกับกรอบ 4h บ้าน Health เป็นหลัก สิ่งจำเป็นที่ไม่ต้องเข้าถึงเพื่อให้ตรงตามเป้าหมายดังกล่าว การได้รับบริการฝากครรภ์ และการได้รับโภชนาการที่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์
การวิเคราะห์การเข้าถึงในช่วงแรกเกิดจนถึง 6 ปี
การวิเคราะห์ในบางประเด็นสามารถที่จะพิจารณาร่วมกันได้ผลการวิเคราะห์การเข้าถึงในประเด็นต่างๆมีรายละเอียดดังนี้
1 การได้รับชัยชนะการที่ถูกต้องเหมาะสม โภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทางร่างกายและสมองโดยเฉพาะพัฒนาการทางด้านสมองในช่วง 3 ขวบปีแรกการให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอจึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคต
2 การได้รับภูมิคุ้มกันที่ครบถ้วน การได้รับวัคซีนในทารกตั้งแต่แรกเกิดเป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากสามารถทำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรคต่างๆที่เข้ามาสู่ร่างกายเด็กได้ทางนี้ว่าสิ่งจำเป็นสำหรับเด็กทารกทุกคน
3 การได้รับการดูแลสุขภาพฟัน การให้ความรู้ของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพฟันของบุตรหลานในการแก้ปัญหาการเข้าถึงการได้รับการรักษาสุขภาพฟันในเรื่องของความสามารถในการจ่ายสามารถใช้ 30 บาทได้เพื่อให้ได้รับการรักษาสะท้อนการลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในการได้รับการบริการที่จำเป็นในช่วงเด็กปฐมวัย
4 การเรียนเตรียมอนุบาล การศึกษาในระดับเด็กเล็กที่เข้าเตรียมอนุบาลปีการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิตเพราะเป็นจุดเริ่มต้นของพัฒนาการเด็กได้เรียนเตรียมอนุบาลย่อมได้รับการพัฒนาทักษะทางสังคมที่ทำให้เป็นได้พบปะกับเด็กคนอื่นประกอบกับไม่สร้างเสริมศักยภาพพัฒนาการของเด็กได้อย่างเต็มที่
5 การเรียนหลักสูตรปฐมวัย ประเด็นสำคัญหลักของเด็กมีช่วง 3-6 ปีนั่นคือการเข้าถึงการเรียนหลักสูตรปฐมวัยไม่ว่าจะเป็นในศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนอนุบาลหรือสถานรับเลี้ยงเด็กชุมชนการเตรียมความพร้อมให้เด็กก่อนที่จะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาสามารถทำได้โดยส่งเด็กเข้าไปเรียนในหลักสูตรปฐมวัย
6 การเข้าถึงสิ่งของเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ในช่วงปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดสำหรับการได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งทางด้านสมองภาษาทั้งทางสังคมและอารมณ์ นานๆการเล่นเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กเด็กจะพัฒนาได้ต้องมีของเล่นที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนสร้างให้เกิดการเรียนรู้หาวิ่งของเล่นมีประเภทที่หลากหลายเด็กก็สามารถฝึกพัฒนาการของพวกเขาพร้อมกันในหลากหลายด้านได้
7 การเข้าถึงบริการหากมีพัฒนาการล่าช้า โครงการช่วยเหลือเพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าในประเทศไทยเข้าถึงการบริการที่ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กที่ส่งใบนั้นปัจจุบันภาคและได้ดำเนินงานผ่าน 2 แนวทางทางแรกคือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยและแนวทางที่ 2 คือ การให้สิทธิประโยชน์เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
:warning:สรุปประเด็นท้าทายด้านการเข้าถึงการพัฒนาเด็กปฐมวัย
1 การเข้าถึงองค์ความรู้ของแม่และผู้ปกครอง
การเข้ารับบริการฝากครรภ์ภายใน 3 เดือน
การเข้าถึงองค์ความรู้ด้านโภชนาการสำหรับการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 23 เดือน
การเข้าถึงองค์ความรู้ในการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กอย่างครบถ้วนก่อนอายุ 1 ปี
การเข้าถึงองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากของเด็ก
การเข้าถึงองค์ความรู้ในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของเด็กให้มีพัฒนาการตามช่วงวัย
2 การเข้าถึงทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การเข้าถึงสารอาหารที่จำเป็น
การเข้าถึงหนังสือสำหรับเด็ก
3 การเข้าถึงการบริการที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยของภาครัฐ
การเข้าถึงสถานบริการสถานที่มีคุณภาพ
การเข้าถึงพื้นที่บริการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การเข้าถึงบริการเมื่อเด็กมีพัฒนาการล่าช้า
:star:บทที่ 7 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
สำหรับการเข้าถึงการศึกษาด้วยนโยบายของภาครัฐในการต้องการให้ทุกคนเข้าถึงการศึกษา ระดับปฐมวัย ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยด้านพื้นที่โดยเฉพาะต่างจังหวัด ความแตกต่างระหว่างใน เมืองและนอกเมืองไม่มีผลต่อการเข้าถึงซึ่งสะท้อนถึงการกระจายตัวของสถานศึกษาที่ทำให้เด็ก สามารถเข้าถึงได้
การกระจายคุณภาพการให้บริการอย่างไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษา มีผลทำให้สถานศึกษาบางแห่งใช้ทรัพยากรด้านการศึกษาอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และมีผลต่อไปยังพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่มีความสมวัยไม่เท่าเทียมกัน
หลักสูตรการศึกษาที่ยังคงต้องมีการปรับปรุงให้ครอบคลุม ทักษะศตวรรษที่ 21
ภาครัฐต้องกระจายคุณภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยให้ทั่วถึงและเท่าเทียม เพื่อลดความแตกต่าง
การปรับทัศนคติของผู้ปกครองหลังจากนั้น
ยกระดับพัฒนาการที่สมวัยของเด็กให้ไปสู่การพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21
:star:บทที่ 5 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัยจะเป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของการจัดสรรทรัพยากรในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในภาพรวมและประเมินความคุ้มค่าของทรัพยากรในการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตที่ได้จากการพัฒนาว่าคุ้มกับทรัพยากรที่จับหรือไม่ ซึ่งประกอบไปด้วย
1.การจัดสรรทรัพยากรในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของประเทศไทย
2.ผลการประเมินประสิทธิภาพของการพัฒนาเด็กปฐมวัย
:fire:
สรุปประเด็นท้าทายด้านประสิทธิภาพการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ประเด็นสำคัญของการพัฒนาในการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอยู่กับคุณภาพของทรัพยากรการเรียนและวิธีการนำทรัพยากรการเรียนด้านนั้นไปใช้อย่างเหมาะสมซึ่งสามารถนำไปสู่การสรุปประเด็นท้าทายได้ดังนี้
1 การกระจายทรัพยากรที่มีคุณภาพเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
2 การดำเนินงานที่ทำให้ทรัพยากรถูกนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
:star:บทที่ 2 การพัฒนาเด็กปฐมวัยเพื่อโลกอนาคต
:silhouette:
เด็กปฐมวัย
คือ เด็กในระยะเริ่มแรกของมนุษย์ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีความสำคัญที่สุดของชีวิตและประสบการณ์ต่างๆที่ได้รับในตอนนี้จะมีอิทธิพลต่อคนเราตลอดชีวิต
:black_flag:การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย
:unlock:
การพัฒนาเด็ก
คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลักษณะและพฤติกรรมที่มีทิศทางและรูปแบบที่แน่นอนจากช่วงระยะเวลาหนึ่งไปสู่อีกช่วงระยะเวลาหนึ่ง ผ่านกระบวนการเรียนรู้จนสู่วุฒิภาวะ โดยพัฒนาการที่สมวัย คือ กระบวนการพัฒนาที่เหมาะสมหรือที่ควรจะเป็นของช่วงวัยเด็กปฐมวัยนั้น
:red_flag: ด้านพัฒนาการที่สมวัยของเด็กปฐมวัย 4H
1. พัฒนาการด้านร่างกาย
เป็นการพัฒนาความสามารถของร่างกายโดยแบ่งออกเป็นการพัฒนาการมองเห็น การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่
2. พัฒนาการด้านอารมณ์
เป็นการพัฒนาความสามารถในการแสดงความรู้สึกและควบคุมการแสดงออกของอารมณ์อย่างเหมาะสม
3. พัฒนาการด้านสังคม
เป็นการพัฒนาความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นเข้าใจผู้อื่น
4.พัฒนาการด้านสติปัญญา
เป็นการพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับตนเองเป็นกระบวนการคิดเรียนรู้หาเหตุผลแก้ไขปัญหาและสื่อสาร
:fire:ปัจจัยด้านแนวทางการส่งเสริมเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการที่สมวัย
ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคลของผู้เลี้ยงดู
2 ปัจจัยด้านพฤติกรรมด้านสุขภาพของมารดาในขณะตั้งครรภ์
4 ปัจจัยด้านสุขภาพร่างกายของเด็ก
ปัจจัยด้านภาวะโภชนาการของเด็ก
ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมและจิตวิทยา
3 ปัจจัยด้านลักษณะของบุคคลของเด็กเมื่อแรกคลอด และพันธุกรรม
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
:warning:ทักษะของเด็กปฐมวัยในโลกอนาคต
1. Foundational Literacy
คือ กลุ่มทักษะพื้นฐานที่เด็กจำเป็นต้องเข้าใจและนำไปใช้ในบริบทที่แตกต่างกัน ซึ่งทักษะเหล่านี้ได้แก่
การใช้ภาษา
การใช้เทคโนโลยี
การใช้วิทยาศาสตร์
การจัดการด้านการเงิน
การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรม
2. Competencies
คือ กลุ่มทักษะที่ต้องนำมาใช้ในการจัดการกับปัญหาหรือความท้าทายที่ต้องเผชิญชีวิต หรือโลกแห่งการทำงานในอนาคต
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
การคิดสร้างสรรค์
การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
การทำงานร่วมกับผู้อื่น
3. Character Qualities
คือ กลุ่มทักษะที่เด็กต้องมีเพื่อจัดการตนเองกับสภาพแวดล้อมในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
ความอยากรู้อยากเห็น
การคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ความพยายามในการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
ความสามารถในการปรับตัว
ความเป็นผู้นำ
ความตระหนักรู้ทางสังคมและวัฒนธรรม
:recycle:หลักการพัฒนาเด็กทั้ง 3 ส่วนของ OECD มีรายละเอียดดังนี้
ความรู้ในอนาคตต้องมีทั้งความรู้ที่กว้างและรู้ลึกเฉพาะด้าน เช่น การพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องสร้างองค์ความรู้ที่ครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับสัตว์ต่างๆที่ต้องมีการบูรณาการเข้าด้วยกันซึ่งจะรวมถึงศาสตร์ทางด้านวิชาการด้วย
ทักษะ ความรู้ที่มีน้ำต้องถูกนำไปประยุกต์ใช้เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจไม่เคยพบเจอมาก่อนซึ่งการประยุกต์นี้จะขึ้นอยู่กับทักษะของแต่ละคน ซึ่งหลักๆที่ OECD ให้ความสำคัญในการพัฒนาสำหรับโลกอนาคตในปี 2030 ได้แก่
ทักษะทางสติปัญญาและการรู้คิด
ทักษะทางสังคมและอารมณ์
ทักษะเชิงปฏิบัติและร่างกาย
ผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาเด็กเพื่อให้มีทักษะศตวรรษที่ 21
1 ครูผู้สอน
2 ผู้ปกครอง
3 นักวิจัย
4 ภาคเอกชน
5 ผู้พัฒนาเทคโนโลยี
6 นักลงทุน
ห้องเรียนศตวรรษที่ 21
สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ปัจจัยหลักได้แก่
1.ห้องเรียน
พื้นที่การเรียนการสอน พื้นที่ที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ภายในห้องเรียนธรรมชาติของเด็กฉลาดเช่น มุมการเล่นและออกกำลังกาย มุมเงียบสงบ มุมเรียนรู้และเทคโนโลยี มุมพักผ่อน และมุมเปิดโล่ง
อุปกรณ์การเรียน ปรับอุปกรณ์และเครื่องใช้ภายในห้องเรียนเพื่อตอบสนองต่อการเรียนรู้ของเด็ก
2.หลักสูตร
ปรับหลักสูตรที่มีความหลากหลายและสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21
จัดหลักสูตรโดยเน้นภาษาที่สอง
จัดหลักสูตรโดยไม่แยกย่อยเป็นรายวิชา แต่ส่งเสริมการเรียนแบบสหวิชาการ
3.รูปแบบการเรียนการสอน
ประยุกต์ใช้ในระบบการประเมินผลทางการประเมินตนเองและเพื่อน ประเมินจากสิ่งที่เรียนรู้มากกว่าในระบบการประเมินด้วยข้อสอบวัดผล
จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการที่แตกต่างกัน
4.ครูผู้สอน
ติดต่อสื่อสารกับผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของเด็ก
เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้
มีส่วนร่วมในการเรียนของเด็กและสอนร่วมกันเป็นทีม
: :star:บทที่ 3 บทบาทของภาครัฐในการพัฒนาเด็กปฐมวัย :
บทบาทของภาครัฐไทยในภาพรวม
ปัจจุบันบทบาทภาครัฐไทยได้เข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาเด็กปฐมวัยเริ่มตั้งแต่ละธรรมนูญพระราชบัญญัติและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของแผนต่างๆประกอบไปด้วย
1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. 2560
2 พระราชบัญญัติ
ได้แก่
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
พระราชบัญญัติพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562
นโยบายจากรัฐบาล ยุทธศาสตร์ และแผนต่างๆ ได้แก่
นโยบายเรียนฟรี 15 ปี
แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย พ. ศ. 2555-2559
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ.2560-2569
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน พ. ศ. 2559-2573
บทบาทภาครัฐภายในกระทรวง
ปัจจุบันมีหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกระทรวงมหาดไทย ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีวัตถุประสงค์ให้เด็กปฐมวัยมีความพร้อมด้านร่างกายอารมณ์จิตใจสังคมสติปัญญามีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อศักยภาพในการศึกษาต่อในระดับประถมศึกษา
บทบาทของภาครัฐต่างประเทศในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
1 ประเทศเอสโตเนีย
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาของสาธารณรัฐเอสโตเนียการศึกษาในช่วงปฐมวัยส่วนใหญ่จะต้องเป็นหน้าที่รับผิดชอบของผู้ปกครองเป็นหลักโดยมีสถาบันดูแลเด็กเป็นสถาบันที่ส่งเสริมเพิ่มเติมในการดูแลในช่วงชั้นปฐมวัยนั้นตัวเมียมีการอำนวยความสะดวกสำหรับการเลี้ยงดูเด็กอยู่ 3 รูปแบบ ได้แก่
1 สถาบันดูแลเด็กก่อนวัยเรียน
2 สถาบันดูแลเด็กทางเลือก
3 บริการรับเลี้ยงเด็กในครอบครัว
2 ประเทศเกาหลีใต้
สำหรับการพัฒนาดูแลเด็กปฐมวัยประเทศเกาหลีใต้ได้เล็งเห็นว่าการส่งเสริมพัฒนาการแก่บุตรควรเริ่มตั้งแต่การวางแผนการสร้างครอบครัวของคู่สมรส เนื่องจากเป็นปฐมวัยถือเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างพัฒนาการเพื่อให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพของประเทศภายภาคหน้า นอกจากนี้รัฐจะให้เงินอุดหนุนด้านการศึกษาแก่บุตรให้แก่ลูกจ้างเป็นรายปีและการให้เงินอุดหนุนดังกล่าวจำกัดจำนวนหรือไม่เกิน 2 คนตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
1 ในกรณีที่ผู้ศึกษาระดับเตรียมอนุบาล รัฐให้เงินอุดหนุนไม่เกินปีละ 8 แสนวอน
2 ในกรณีที่ผู้ศึกษาระดับประถมศึกษา รัฐให้เงินอุดหนุนไม่เกินปีละ 1 ล้าน 2 แสนวอน
3 ในกรณีที่ผู้ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รับเงินอุดหนุนไม่เกินปีละ 1 ล้าน 2 แสนบาท
4 กรณีที่ผู้ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รัฐให้เงินอุดหนุนไม่เกินปีละ 2 ล้านวอน
3 ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็นประเทศที่น่าสนใจนำมาเป็นต้นแบบในการส่งเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ผ่านการรับรองจากงานศึกษาต่างๆ เพิ่งเห็นว่าสหรัฐอเมริกามีหลากหลายแนวทางที่สามารถส่งเสริมศตวรรษที่ 21 ให้เกิดขึ้นจริงได้ เช่นหลักสูตรการศึกษา 4Rs Program หลักสูตร PATHS Education Worldwide หลักสูตร Al’s Caring Pals