Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
IMMUNOLOGY - Coggle Diagram
IMMUNOLOGY
Innate immune system (non-specific)
Barrier (body’s defenses)
ผิวหนัง (Skin) : เป็นกพแพงกั้นเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายโดยตรง
รูขุมขน (Hair follicles) ต่อมไขมัน (sebaceous glands)
Phagocytosis
กระบวนการจับกินเชื้อและสิ่งแปลกปลอมโดย White Blood Cell (WBC)
Inflammatory response
การเคลื่อนย้ายของ phagocytic cell มายังบริเวณที่มีสิ่งแปลกปลอมบริเวณน้ันจะมีลักษณะจำเพาะ คือ ปวด บวม แดง ร้อน
Fever
• ผลจากการหลั่งสารเช่น Interleukin-1(IL-1),Interleukin-6(IL-6)จากmacrophage
• ผลจากการหลงั่สาร tumornecrosisfactor(TNF) จากเซลลม์ะเรง
• สมองจะปรับ (reset) อุณหภูมิในร่างกายใหส้งูข้ึน >> เกิดอาการไข้ >> มีผลยับยั้งการแบง่เซลล์จุลินทรีย์
Interferon (IFN)
• โปรตีนที่หลั่งจากเซลล์ที่ติด้ชื้อไวรัส
• antivirusprotein ออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อไวรัส
Complement
• กลุ่มของโปรตีนใน plasma สร้างจากตับ
• ทำหน้าที่สลายเซลล์และหลั่งสารเคมี
Immune System ระบบภูมิคุ้มกัน
• คอยป้องกันไม่ให้เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้ามาทำอันตรายต่อร่างกาย
• ภูมิคุ้มกันจะพยายามทำลายและกำจัดสิ่งแปลกปลอมให้หมดไปจากร่างกาย
โดยเร็วและอย่างมีประสิทธิภาพ
อาศัยการทำงานรว่มกัน
1) The innate immune system (non-specific)
2) The adaptive immune system (specific)
Innate immunity (non-specific)
• มีมาแต่กำเนิด
• ไม่มีความจำเพาะเจาะจงกับชนิดของเชื้อโรค
• ไม่จำเป็นต้องได้รับเชื้อโรคนั้นมาก่อน
Adaptive immunity (specific)
• ร่างกายเคยได้รับเชื้อโรคนั้นมาก่อน
• ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันจดจำและสร้าวภูมิคุ้มกันที่มีความจำเพาะกับชนิดของโรคนั้น
Immunity to Microorganism
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อแบคทีเรีย
แบคทีเรียที่เพิ่มจำนวนภายนอกเซลล์ (Extracellular bacteria)
หลอดเลือด เน้ือเยื้อ ช่องว่างของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร
แบคทีเรียที่เพิ่มจำนวนภายในเซลล์ (Intracellula rbacteria)
ปอด
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อรา
โดยปกติแล้วเชื้อราจะก่อโรคในกลุ่มผู้ที่มีภาวะบกพร่อง
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส
เป็นเชื้อโรคที่ต้องอาศัยเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและอาศยักระบวนการต่างๆของ Hostcell ในการเจริญ
Immunology วิทยาภูมิคุ้มกัน
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกบัระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกนั >>การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันขึ้นกับหลายปัจจัย
ศึกษาโรคที่ทีความผดิปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน
• ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity)
• โรคภูมิต้านทานเน้ือเยื่อตัวเอง (Autoimmune Disease)
Adaptive Immune System (specific)
Cell mediated immune response
(CMIR)
เซลล์ที่รับผิดชอบคือ T-lymphocyte (T-cell) และ
Macrophage ทำงานร่วมกัน
Helper T-lymphocyte (TH)
ช่วย B-lymphocyte สร้าง Ab หรือ Ig
Suppressor T-lymphocyte (TS)
ควบคมุ T-cell และ B-cell ไม่ให้ทำงานมากเกินไป
Memory T-lymphocyte (TM)
• ทำหน้าที่จดจำ Ag
Humoral immune response (HIR)
• เซลล์ที่รับผิดชอบ คือ B-lymphocyte (B-cell) และ plasma cell
• โดยอาศัยการทำงานของ antibody(Ab) หรือ Immunoglobulin (Ig) (การตอบสนองโดยใช้สารน้ำ)
Antibody (Ab) / Immunoglobulin (Ig)
• พบในกระแสเลือด และสารคัดหลั่ง
• สามารถทำปฏิกิริยาได้กบั Antigen (Ag) หรือเชื้อโรคต่างๆอย่างจำเพาะ
Immunoglobulin G (IgG)
• เคลื่อนตัวผ่านรกได้ (ทารกแรกเกิดจึงมีระดับเท่าผู้ใหญ่)
• มีบทบาทในการป้องกันการติดเชื้อ
Immunoglobulin A (IgA)
• พบในน้ำนม
• หน้าท่ี : ป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย
Immunoglobulin M (IgM)
• เป็นตัวแรกที่ทารกในครรภ์สร้างได้เมื่ออายุ 20 สัปดาห์ (ตามด้วย IgG และ IgA)
• ทำลาย Gram negative bacteria
• IgM มีระดับสูงขึ้นเมื่อพบการติดเชื้อระหว่างการตั้งครรภ์
Immunoglobulin D (IgD)
• พบน้อยในเลือด (น้อยกว่า 1%)
• ช่วยในการสร้าง memory B-cell
Immunoglobulin E (IgE)
• เก่ียวข้องกับปฏิกิริยาภูมิแพ้โดยจับกับ Mastcell และ Basophil
• หน้าที่ : ทำลายเชื้อปรสิตเชื้อพยาธิและพบในผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิไวเกินชนิดท่ี1
Immunity ภูมิคุ้มกัน
ป้องกันร่างกายจากสิ่งแปลกปลอมหรือ antigen(Ag)
ทำงานร่วมกันของเซลล์และอวัยวะในร่างกายที่มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน
Function of Immune System
• Defense ป้องกันและทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
• Homeostasis คอยกำจัดเซลล์ปกติที่เสื่อมสภาพ เช่น กาจัดเซลล์เม็ดเลือดที่มีอายุมาก
• Surveillance ทำลาย tumor cells เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง