Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.นิ่วในไต (Kidney Stones), Positive finding :, Negative finding :,…
2.นิ่วในไต (Kidney Stones)
1.กล้ามเนื้อฉีก (Muscle Strain)
สาเหตุของกล้ามเนื้อฉีก : เกิดอุบัติเหตุที่กล้ามเนื้อ เช่น ถูกชน หรือถูกกระแทกอย่างแรงใช้งาน กล้ามเนื้อมากเกินไป เช่น ยกของหนักเกินกำลัง ใช้งานกล้ามเนื้อบริเวณนั้นซ้ำ ๆ เช่น ผู้ทำงานแบกหาม ที่ใช้กล้ามเนื้อส่วนเดิมอย่างหนักเป็นเวลานาน การออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาหักโหมเกินไป และไม่มีการยืดคลายกล้ามเนื้ออย่างถูกวิธี
อาการของกล้ามเนื้อฉีกขาด : รู้สึกปวด หรือเจ็บแบบฉับพลัน, เคลื่อนไหวได้ไม่เต็มที่, มีรอยช้ำ หรือผิวเปลี่ยนสี, บวม, รู้สึกเจ็บปวด, กล้ามเนื้อหดเกร็ง, กล้ามเนื้อแข็ง, กล้ามเนื้ออ่อนแรง
วิธีรักษา : พักการใช้กล้ามเนื้อส่วนนั้น, พันผ้ารอบกล้ามเนื้อที่บาดเจ็บ การใช้ผ้ายืด (Elastic Bandage) พันรอบมัดกล้ามเนื้อ, ประคบเย็น, ยกกล้ามเนื้อส่วนที่ฉีก ในกรณีที่กล้ามเนื้อมัดนั้นสามารถยกได้
3.โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด (Pulmonary Embolism) :
สาเหตุ : มีสาเหตุมาจากลิ่มเลือดที่อุดตันบริเวณหลอดเลือดขาหลุดไปอุดกั้นหลอดเลือดปอด และบางครั้งอาจเกิดจากการอุดตันของไขมัน คอลลาเจน เนื้อเยื่อ เนื้องอก หรือฟองอากาศในหลอดเลือดปอดได้เช่นกัน
อาการ : หายใจลำบากหรือหายใจไม่ออก, เกิดอาการปวดแปลบเหมือนโดนแทงด้วยของมีคมที่บริเวณอกและเอว
การรักษา : การใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด, การใช้ยาสลายลิ่มเลือด, การสอดท่อเข้าทางหลอดเลือด, การใช้ตะแกรงกรองลิ่มเลือด, การผ่าตัด
สาเหตุของนิ่วในไต
นิ่วในไตอาจเกิดขึ้นได้จากปริมาณของเกลือ แร่ธาตุ และสสารต่าง ๆ เช่น แคลเซียม กรดออกซาลิก และกรดยูริกในปัสสาวะที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีปริมาณมากเกินกว่าของเหลวในปัสสาวะจะละลายหรือทำให้เข้มข้นน้อยลงได้ จนเกิดการเกาะตัวเป็นก้อนนิ่วในที่สุด
อาการของนิ่วในไต : ปวดบริเวณหลัง เอวหรือช่องท้องด้านล่างข้างใดข้างหนึ่ง, มีอาการปวดบีบเป็นระยะ และปวดรุนแรงเป็นช่วง ๆ, ปัสสาวะเป็นเลือด, ปัสสาวะแล้วเจ็บ, ปัสสาวะขุ่นหรือมีกลิ่นแรง, คลื่นไส้ อาเจียน, หนาวสั่น เป็นไข้
การรักษานิ่วในไต : การใช้คลื่นเสียงแตกตัวก้อนนิ่ว, การผ่าตัดก้อนนิ่วออก, การส่องกล้อง, การผ่าตัดต่อมไทรอยด์
Positive finding :
ซักประวัติ : ผู้ป่วยยกเก้าอี้ หลังจากวางเก้าอี้รู้สึกปวดบริเวณเอว, มีอาการเจ็บแบบฉับพลัน เป็นๆหายๆ
ตรวจร่างกาย : ปวดบริเวณเอว pain score 4
Negative finding :
ซักประวัติ : ไม่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ตรวจร่างกาย : straight lets raising test แปลผล negative, ไม่มีรอยช้ำ หรือผิวเปลี่ยนสี, ไม่มีอาการบวม,
Positive finding :
ซักประวัติ : ปวดบริเวณเอวข้างซ้าย, มีอาการเจ็บแบบฉับพลัน เป็นๆหายๆ, ไม่มีปัสสาวะเป็นเลือด, ไม่มีอาการปัสสาวะแล้วเจ็บ, ไม่มีปัสสาวะขุ่นหรือมีกลิ่นแรง, ไม่มีคลื่นไส้ อาเจียน, ไม่มีอาการหนาวสั่น เป็นไข้
ตรวจร่างกาย : ปวดบริเวณเอว pain score 4
Negative finding :
ซักประวัติ : ไม่มีปัสสาวะเป็นเลือด, ไม่มีอาการปัสสาวะแล้วเจ็บ, ไม่มีปัสสาวะขุ่นหรือมีกลิ่นแรง, ไม่มีคลื่นไส้ อาเจียน, ไม่มีอาการหนาวสั่น
ตรวจร่างกาย : ไม่มีไข้ BT = 35.6 C
Positive finding :
ซักประวัติ : มีอาการปวดบริเวณเอว, มีอาการเจ็บแบบฉับพลัน เป็นๆหายๆ
ตรวจร่างกาย : ปวดบริเวณเอว pain score 4
Negative finding :
ซักประวัติ : ไม่มีหายใจลำบากหรือหายใจไม่ออก
ตรวจร่างกาย : RR = 20 bpm., PR = 68 bpm.
Patient data : นายสำลี (นามสมมุติ) อายุ : 61 ปี เพศ : ชาย สถานะ : สมรส อาชีพ : ว่างงาน
Chif Complaint (CC) : ปวดเอวก่อนมาโรงพยาบาล 2 สัปดาห์
Present illness (PI) : 2 สัปดาห์ก่อนมา ผู้ป่วยยกเก้าอี้น้ำหนักประมาณ 5 กิโลกรัม เป็นระยะทาง 100 เมตร หลังจากวางเก้าอี้รู้สึกปวดบริเวณเอว สามารถเดินได้ตามปกติ มีอาการเป็นๆ หายๆ ไม่มีอาการชา ไม่มีปัสสาวะแสบขัด ไม่มีไข้ ไม่มีอาการวินเวียนศีรษะ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน 1 สัปดาห์ ก่อนมา มีอากาารปวดเอวมากขึ้น อาการปวดจะทุเลาลงเมื่อก้มเล็กน้อย สามารถเดินได้ปกติ มีอาการเป็นๆหายๆ ม่มีอาการชา ไม่มีปัสสาวะแสบขัด ไม่มีไข้ ไม่มีอาการวินเวียนศีรษะ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน 1 ชั่วโมงก่อนมา มีอาการปวดเอวเพิ่มขึ้น เวลาเดินจะรู้สึกปวดมากขึ้น ไม่มีอาการชาปลายมือปลายเท้า ไม่มีปัสสาวะแสบขัด ไม่มีไข้ ไม่มีอาการวินเวียนศีรษะ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
Past history (PH) : มีโรคประจำตัวคือ โรคเบาหวาน ปฏิเสธการผ่าตัด ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาการ
Personal history : ชายวัยสูงอายุ 61 ปี ไม่ได้ประกอบอาชีพ รับรู้ว่าตนเองมีดรคประจำตัวคือโรคเบาหวาน ไม่เคคยได้รับอุบัติเหตุร้ายแรง เมื่อเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆจะซื้อยามารับประทานเองหรือไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน คือ ศุนย์แพทย์ชุมชนสามัคคี และรับยาโรคประจำตัวอย่างสม่ำเสมอไม่ขาดยา รับรู้ว่าตนเองปวดเอวหลังจายกเก้าอี้เมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อก้มอาการปวดจะดีขึ้น ไม่ได้ซื้อยาแก้ปวดมารับประทานเอง ไม่ได้ใช้ยานวดเมื่อมีอาการปวด ปฏิเสธการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา สามารถช่วยเหลือตนเองได้ตามปกติ ทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
Review of system : กระดูกและกล้ามเนื้อ มีอาการปวดบริเวณเอว pain score 4 ตรวจ straight lets raising test แปลผล negative สามารถเคลื่อนไหวแขน-ขา ได้ตามปกติ ไม่มีอาการอ่อนแรง ไม่มีอาการบวมตามร่างกาย ไม่มีอาการปวดร้าวลงขา motor power grade 5 all
Physical examination PE : Vital signs : BT = 35.6 C, PR = 68 bpm., RR = 20 bpm., BP = 130/70 mmHg. Spine and Extremities : No deformaity both side, normal movement, no edema, waist pain pain score 4 straight lets raising test = negative motor power grade 5 all