Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การจัดระเบียมทางสังคม (Social Organization), นางสาวกฤษกร แก้วนอก…
บทที่ 4 การจัดระเบียมทางสังคม (Social Organization)
องค์ประกอบของกลุ่มที่เป็นระเบียบ
1.1 การกระทำระหว่างกันทางสังคม (Social Interacion) เป็นกระบวนการทางสังคมที่มี 2 ส่วน คือ การกระทำเสนอ และ การสนอง
1.2 บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) คือ แนวทางหรือวิถีทางการกระทำ ประพฤติซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในสังคมที่เป็นไปตามความคาดหวัง
ของสังคม เช่น พ่อแม่ลูก ครูกับนักเรียน
สิ่งสำคัญต้องมีการนำสิ่งที่เรียกว่า สิทธานุมิตทางสังคม (Social Sanction) มาเป็นเครื่องมือของสังคม ซึ่งก็มีทั้งแบบขู่จะลงโทษเปนมาตราการให้โทษ และให้รางวัลตอบแทนเป็นมาตรการให้คุณ
สาเหตุที่ต้องมีการจัดระเบียบสังคม
1.เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์ กันทางสังคมเปีนไปอย่างเรียบร้อย
2.ขจัดข้อขัดแย้งและป้องกันความขัดแย้งในสังคม
3.ช่วยให้สังคมดำรงอยู่ได้อย่างสงบสุขเป็นปีกแผ่น
กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม
จำเป็นต้องมีการจัดระเบียบขึ้น เพื่อให้สมาชิกของกลุ่มรู้จักสถานภาพและบทบาท
1.บรรทัดฐานของสังคม(Social Norms) ซึ่งแบ่งได้อีก 3 ประเภท
1.วิถีชาวบ้านหรือวิถีประชา (Folkways) เป็นแนวทางในการปฏิบัติที่ทุกคนในสังคมปฏิบัติกันโดยทั่วไปจนเกิดความเคยชิน เป็นสิ่งที่คนในสังคมปฏิบัติรับรู้กันจนเคยชิน เช่น การชุบซิบนินทากัน หัวเราะเยาะ หลิ่วตา เลิกคิ้ว
1.2 จารีต (Mores) ต่างจากวิถีชาวบ้านหรือวิถีก็ประชาเพราะมีชื่องของศีลธรรมเข้าไปกำกับด้วย ดังนั้นจารีตจะเป็นทั้งข้อห้าม และขอให้ปฏิบัติด้วย ซึ่งจารีตแต่ละแห่งก็ไม่เหมือนกันขึ้นกับแต่ละสังคม
1.3 กฎหมาย (Laws) ข้อบังคับที่รัฐกำหนดขึ้นใช้ควบคุมคนในสังคม มีบทลงโทษ
2.สถานภาพ (Status) สถานภาพเป็นตำแหน่งที่ได้จากการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เป็นสิทธิและหน้าที่ทั้งหมดที่บุคคลมีอยู่ในการติดต่อเกี่ยวข้องกับผู้อื่นและสังคมส่วนรวม
2.1สถานภาพที่ติดตัวมา ซึ่งแบ่งได้อีก 2แบบ
2.1.1 ติดตัวมาหรือธรรมชาติกำหนด เช่น เกิดเป็นชาย เกิดเป็นหญิง
2.1.2 สังคมกำหนด แต่สามารถเลื่อนชั้นทางสังคมได้ เช่น คนที่ร่ำรวยมักได้รับการนับหน้าถือตามากกว่าคนที่ฐานะต่ำกว่า
2.2สถานภาพที่ได้มาภายหลังหรือได้มาโดยความสามารถ ด้งดิ้นรนขวนขวาย เช่น อาจารย์ปรารถนาอยากเป็นคุณหญิง ซึ่งถือเป็นสถานภาพที่น่จะได้มาภายหลังการเกิด เป็นเรื่องความสามารถ
บทบาท(Role)
บทบาทคือพฤติกรรมที่สังคมคาดหวังว่าจะสอดคล้องและเป็นไปตามสถานภาพที่มี เช่นเป็นอาจารย์ ก็ควรมีบทบาทอบรมสั่งสอนนักเรียน
ยิ่งสังคมชับช้อนมากขึ้นเท่าไหร่ บทบาทก็ยิ่งแตกต่างกันไปมากขึ้น
การขัดกันในบทบาทเกิดขึ้นได้ ช่นกรณีที่อจารย์เคยยกตัวอย่างว่ ลูกเป็นทหาร พ่อเป็นผู้ก่อการร้าย มีความขัดกันของบทบาทที่ต้องทำตามสถานภาพของพ่อ-ลูก และสถานภาพของ ทหาร-ผู้ก่อการร้าย
กระบวนการขัดเกลาทางสังคม(Socialization)
กระบวนการขัดเกลาทางสังคมนั้นเกิดขึ้นได้ทั้งแบบจงใจและไม่จงใจหรือโดยตรงและโดยอ้อม
1.วิธีการขัดเกลาทางสังคม
1.1การขัดเกลาโดยจงใจหรือโดยตรง เช่น พ่อแม่สอนลูก อาจารย์สอนนักเรียน
1.2 การขัดเกลาโดยไม่จงใจหรือโดยอ้อม ไม่ได้เกิดจากการอบรมโดยตรง แต่เกิดจากประสบการณ์ การสังเกต เช่น พ่อแม่ใช้คำหยาบด่ากัน ลูกได้ยินทุกวันก็เอาไปใช้บ้าง
2พื้นฐานของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม
2.1การปราศจากสัญชาตญาณของมนุษย์
2.2 การต้องพึ่งพาผู้อื่นยามเยาว์วัย
2.3 ความสามารถในการเรียนรู้
2.4 ภาษาใช้ในการขัดเกลามนุษย์ได้
3.ความมุ่งหมายของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม
3.1 การปลูกฝังระเบียบวินัย
3.2 ปลูกฝังความมุ่งหวัง โดยฉพาะความมุ่งหวังในสิ่งที่ สังคมยกย่อง
3.3 สอนให้รู้จักบทบาทและทัศนคติต่างๆ
3.4 สอนให้เกิดความชำนาญหรือทักษะ
4.ตัวแทนของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม
4.1 ครอบครัว
4.2 กลุ่มเพื่อน
4.3 ครูอาจารย์
4.4 กลุ่มเพื่อนร่วมอาชีพ
4.5 สื่อมวลชน
ลักษณะเด่นของสังคมไทย
เป็นสังคมชาวพุทธ
เป็นสังคมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
เป็นสังคมเกษตรกรรม
เป็นสังคมที่ยกย่องในอำนาจ อาวุโส เกียรติยศ
เป็นสังคมที่ไม่ค่อยมีระเบียบมีกฎเกณฑ์
นางสาวกฤษกร แก้วนอก C21 No.4