Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้, 633050050-4 กณิศนันต์ เขมวาส - Coggle Diagram
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้
การรับรู้
กระบวนการของการรับรู้
สิ่งเร้า
การรับรู้
การจดจำ
การเรียนรู้
การตัดสินใจ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
สิ่งเร้า : :
สิ่งเร้าที่มีโครงสร้างและแบบแผน
สิ่งเร้าที่ไม่มีโครงสร้างและแบบแผน
แรงจูงใจ
ความต้องการ
คุณค่า และความน่าสนใจ
การให้รางวัล
องค์ประกอบของการรับรู้
สิ่งเร้า (ต้นกำเนิดให้เกิดการรับรู้)
ตัวกลาง หรือ สื่อ (สิ่่งที่ทำให้รับรู้สัมผัสนั้นได้ดีขึ้นหรือแย่ลง)
เซลล์ประสาทรับสัมผัส
ระบบประสาทส่วนกลาง(บันทึกและลงรหัสสิ่งเร้า มีการตีความต่อข้อมูลความรู้สึก ประกอบการเรียนรู้และ ความทรงจำเดิม จัดระบบการรับรู้ใหม่)
ความหมาย และธรรมชาติของการรับรู้
กระบวนการที่เกิดขึ้นภายหลังจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ผ่านประสาทสัมผัส แล้วถูกตีความหมายโดยใช้ ความรู้ประสบการณ์ ความเข้าใจของบุคล
ผ่านประสาทสัมผัสภายนอก
กายสัมผัส
กายสัมผัส
ตา การดู
การลิ้มรส
หู การฟัง
ผ่านประสาทสัมผัสภายใน
kinesthetic การรับรู้การเคลื่อนไหว ผ่านประสาทในกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อกระดูก
vestibular ทำให้ทราบการทรงตัว รับรู้ผ่านหูชั้นด้านใน
การเรียนรู้
ความหมายและธรรมชาติของการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงพฤติกรรมเพื่่อ ตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่สังเกตได้
การเรียนรู้เป็นกระบวนการ โดยเริ่มจาก มีสิ่งเร้ามาเร้าผู้เรียน
ผู้เรียนรับรู้สิ่งเร้า
ผู้เรียนแปลความหมาย
ผู้เรียนตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ผู้เรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้น อาจมีการเสริมแรง
ธรรมชาติของการเรียนรู้
การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะ
การเรียนรู้จะเกิดได้ง่ายถ้าสิ่งนั้นมีความหมายต่อผู้เรียน
การเรียนรู้เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลังจากรับประสบการณ์
ความแตกต่างของบุคคลส่งผลต่อความแตกต่างกันในเรื่องของการเรียนรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ :
เพศ
วิสัยสามารถ
วัย
ประสบการณ์เดิม
การจูงใจ
อวัยวะรับความรู้สึก
วุฒิภาวะ
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
การสำรวจ:
วิธีการค้นหาคำตอบ โดยกาารสำรวจเด็กจะจำได้ดีขึ้น ซึ่งวิธีการอาจทำโดยการสังเกต การหาเหตุ และผล สนับสนุนกัน
การเสริมแรง และการหยุดยั้ง พฤติกรรม
การลงโทษและการให้รางวัล เพื่อชี้ให้เห็นว่าพฤติกรรมควรทำหรือไม่กระทำ
วุฒิภาวะ ความพร้อม
: ความสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดี เมื่อมีความพร้อม และจะมีความพร้อมเมื่อวุฒิภาวะเจริญเต็มที่
ความจำ
องค์ประกอบของสิ่งที่สอน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่สอน กับ สติปัญญา แรงจูงใจ
เป้าหมาย
: การเกิดพฤติกรรมขึ้นกับเป้าหมายของบุคคลเป็นหลัก
การฝึกฝน
: มีความสำคัญต่อการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อน
การเรียนโดยไม่ตั้งใจ และการเรียนโดยตั้งใจ:
จัดลำดับประสบการณ์เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ในทิศทางที่เหมาะสม
การถ่ายโยงการเรียนรู้
ความหมาย
: การนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรือประสบการณ์เดิม ที่ได้จากการเรียนไปปรับใช้กับสิ่งใหม่ หรือ เหตุการณ์อื่นๆ
การนำความรู้ไปใช้
ทบทวนความรู้เดิมที่เกี่ยวกีบบทเรียนใหม่
ควรสอนให้ผู้เรียน รู้จักหลักการใหญ่ในบทเรียน
การจัดบทเรียนที่คบ้ายคลึงหรือสัมพันธ์กันให้ต่อเนื่อง
แรงจูงใจในการเรียน
ความหมาย
: สภาวะอันเกิดจากความต้องการในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แสดงด้วย พฤติกรรมในการทำกิจกรรมต่างๆ จนก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ จนเกิดเป็นทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ (ลักขณา สริวัฒน์, 2554)
ประเภทของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน :
เกิดขึ้นจากตัวผู้เรียน ความสนใจของผู้เรียนเอง
แรงจูงใจภายนอก :
เกิดจากปัจจัยรอบตัวผูเรียน เช่น เพื่อน
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีปัญญานิยม
: พฤติกรรมเกิดจากการถูกกำหนด ด้วยความคิด ความเชื่อ ความคาดหวัง เป้าหมาย ไม่ได้เกิดจากรางวัล หรืือถูกลงโทษในอดีต
ทฤษฎีมนุษยนิยม
: ความต้องการนับถือตน และความตระหนักในตนเพื่อพัฒนาศักยภาพแห่งตน เป็นศูนย์กลางของการแสดงพฤติกรรม
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
: เกิดขึ้นเนื่องมาจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทิศทาง ทิศทางของพฤติกรรมจะถูกกำหนดโดย การเสริมแรงและการลงโทษ
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
: แรงจูงใจเกิดจากองค์ประกอบหลายประกอบ และอย่างหนึ่งก็คือ ความคิด หรือการคาดหวังผลกรรมที่เกิดจากการกระทำ
แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้
การให้เด็กนักเรียน เห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน
การช่วยให้เด็กนักเรียนเกิดความใส่ใจในสิ่งที่เรียน
การเสริมสร้างความเชื่อมั่น และการคาดหวังเชิงบวกในการเรียนให้แก่เด็กนักเรียน
633050050-4 กณิศนันต์ เขมวาส