Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนดและครบกำหนดที่มีปัญหา 2, นาย วีระยุทธ คงดำ…
การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนดและครบกำหนดที่มีปัญหา 2
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
ค่าปกติของอุณหภูมิกายที่ปลอดภัย (Safety) และมีความเฉพาะเจาะจง (Specific) สำหรับทารกแรกเกิด37± 0.2 >>> Keep 36.8 -37.2 oC
moderate hypothermia BT 32-36
severe hypothermia BT < 32
mild hypothermia BT 36 – 36.5
สาเหตุ
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย (Subcutaneous fat / white fat) มีน้อยเป็นเสมือนฉนวนห่อหุ้มร่างกายและลดการสูญเสียความร้อน
ไม่สามารถสร้างความร้อนโดยวิธีการสั่นของกล้ามเนื้อ (Shivering)
มีไขมันสีน้ำตาล (Brown fat) น้อยในเด็ก Preterm + LBW
ผิวหนังบางทำให้เส้นเลือดอยู่ชิดกับผิวหนัง
พื้นที่ผิวกายมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว ทารกมีร้อยละ 15 ทำให้เสียความร้อนจากร่างกายทางผิวหนังให้กับสิ่งแวดล้อมได้ง่าย
มีจำนวนสารที่ใช้ในขบวนการเผาผลาญของร่างกายน้อย ได้แก่ Glucose Glycogen lipid
Hypothalamus ยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์ไม่สามารถควบคุมระดับ BT ได้เองจะขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงของ T สิ่งแวดล้อม
กลไกสูญเสียความร้อนทารก
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว, ผิวซีด, เย็น ตัวเย็น, ปลายมือปลายเท้าเขียว, มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
การพยาบาล
Rapid rewarming >> radiant warmmer >>/ BT > 36.5 เข้าตู้รักษาตามสาเหตุของการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำ รักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
Slow rewarming >> Incubator เพิ่มอุณหภูมิตู้ทีละน้อยตาม BT ทารก
Incubator care
Skin servo-control mode
ควบคุมการตั้งอุณหภูมิผิวหนัง ติด skin probe ที่ลำตัวแนบสนิทผิวหนังตน.ไม่ถูกกดทับ ไม่ติดบนปุ่มกระดูก
Air servo-control mode
ควบคุมการตั้งอุณหภูมิอากาศในตู้ปรับให้เหมาะสมกับอายุ + BW ทารก ช่วงให้ทารกใช้พลังงานน้อยสุด
Retinopathy of prematurity: ROP โรคจอประสาทตาผิดปกติ
สาเหตุ
IGF -1 ลดลงเร็ว เป็นสารควบคุม กระตุ้นสร้างหลอดเลือดบนจอป.สาทตา
ทำให้เกิดการชะงักการสร้างและพัฒนาหลอดเลือดบนจอป.สาทตา
เกิด Oxygen toxicity =ทารกได้รับ ออกซิเจนนาน +สูง = พัฒนาของหลอดเลือดไปเลี้ยงเรตินาถูกรบกวน
อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สป.รุนแรง <28/นน.ตัวน้อยกว่า1,500 รุนแรง 1,000 g
Vascular endothelial growth factor (VEGF) = หลอดเลือดจอป.สาทตาไม่แข็งแรงฝ่อสลายไป
ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ
พันธุกรรม GA นนแรกเกิดน้อย
ภาวะแทรกซ้อน hypo-hyperglycemia
หลังเกิดโตช้า Poor postnatal growth
Apnea ติดเครื่องช่วยหายใจ
Anemia ,PDA, Vitamin E deficiency,
Neonatal sepsis
O2, blood exchange transfusions
พบใน
“Preterm”
= เส้นเลือดจอป.สาทตาเจริญไม่เต็มที่ เส้นเลือดไวต่อ O2 หากรับ O2นาน เส้นเลือดตีบอุดตัน บริเวณเส้นเลือดงอกไปไม่ถึง เกิดขาดเลือด หยุดการเจริญเติบโตของเส้นเลือดไปยังส่วนปลาย โดยเฉพาะหางตาด้าน Temporal เส้นเลือดพัฒนาช้ากว่า
จอป.สาทตา “มีค.ผิดปกติจากที่ขาดเลือดไปเลี้ยงIschemia” และเกิดการเปลี่ยนแปลง มีภาวะแทรกซ้อน จากมีหลอดเลือดงอกขึ้นมาผิดปกติบนจอป.สาทตา
แนวทางรักษา. ที่ควรได้รับ ใน 72 ชม แรกที่พบ
2.Cryotherapy ค.เย็น ยิงจอป.สาทตา ที่ไม่มีเส้นเลือดมาเลี้ยง ยับยั้งเติบโตเส้นเลือดฝอยงอกใหม่
Anti VEGF ฉีดยา ต้านเกิดหลอดเลือดใหม่เข้าในวุ้นตา ยับยั้ง ขจัดหลอดเลือดใหม่
Laser ต่อกับเครื่องตรวจจอป.สาทตาชนิดสวมศีรษะ LIO = ยิงจอป.สาทตาส่วนริม ไม่มีหลอดเลือดไปเลี้ยง ลดการกระตุ้นการสร้างสาร VEGF + ใช้ยาชาเฉพาะที่ ทำได้ข้างเตียง ปลอดภัยสูง เป็น
Vitrectomy ผ่าตัดวุ้นตา แก้จอตาหลุดลิกรายรุนแรง
การพยาบาล
เวลาที่ตรวจ
GA < 27 wk. ครั้ง 1 เมื่อ 31 สัปดาห์
GA>wk. ครั้งที่1 เมื่ออายุครบ 4 wk และติดตามจนกว่าจะกลับมาปกต
ดูแลให้ทารกรับO2 จำเป็น Try ลด Fio2 ใช้ Pulse oximeter Keep O2 sat 90%-94 %
ตรวจคัดกรอง ROP นน<1500 +อายุครรภ์ 28 wk.
ดูแลนน.การเจริญเติบโตเหมาะสม รักษาภายใน 48 -72 ชม
ให้ข้อมูลญาติ เสริมขพลังแก ผป.ครอบครัว ตรวจติดตาม จำหน่าย กระตุ้นสายตา มาตามนัด
ภาวะตัวเหลือง (Neonatal Hyperbilirubinemia/ jaundice)
อาการและภาวะแทรกซ้อน
ผิวหนังจะมีสีเหลืองเริ่มจากใบหน้า ลำตัว แขนขาและ ฝ่ามือฝ่าเท้า
การพยาบาล
เจาะ + ติดตาม ค่า Hct, MB , jaundice work up: CBC blood gr. Rh gr. Direct comb test, Incusion body, Heinz body, G6PD, reticuloctyte count สังเกตลักษณะอุจจาระ ปัสสาวะ
ดูแลให้ส่องไฟรักษา ปิดตา, ถอดเสื้อผ้า, จัดระยะห่างระหว่างหลอด
ไฟกับตัวหารก (20 cm.), จัดอยู่ตรงกลางของหลอดไฟ, หมั่นพลิกตะแคงตัวหารก ทุก 2-3 ชม. งดหาแป้ง โลชั่น oil, ตรวจเช็คการทํา
งานของ photo ให้มีประสิทธิภาพ
ภาวะแทรกซ้อนจากการส่องไฟ เช่น ยื่นแดง ผิวแห้ง ลอก ผิวหนังคล้ําออกเขียวแกมน้ําตาล ภาวะขาดน้ํา ไข้ ตาอักเสบ ถ่ายเหลว
สาเหตุ
การขับบิลิรูบินลดลงกว่าปกติ
breastmilk jaundice syndrome (BMJ) พบได้ในทารกอายุประมาณ 4-7 วัน
มีการสร้างบิลิรูบินมากผิดปกติ
breastfeeding jaundice (BFJ) พบได้ใน
ทารกอายุ 2-4 วัน ที่ยังได้รับนมแม่ไม่เพียงพอ
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
(Hypoglycemia)
การพยาบาล
ถ้ากินไม่ได้ให้ IV เป็ น 5/10%DW
10%DW push 2 cc/kg then ให้ IVF เริ่มที่ 10%DW >> 12.5% เพิ่มความเข้มข้นไปเรื่อย ๆ
Observe sign hypoglycemia : กระวนกระวาย สั่น jittery movement การกระตุกของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หายใจเร็ว หยุดหายใจ เขียวไม่ดูดนม ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ตัวเย็น ชัก
ให้นมทางปาก/ OG โดยเร็ว
ปัจจัยเสี่ยง
Transient hypoglycemia >> ต่ำชั่วคราว
Recurrent หรือ Persistent hypoglycemia >> ต่ำถาวร
อาการและอาการแสดง
สะดุ้งผวา (jitteriness) อาการสั่น (tremor) ซีดหรือเขียว ตากรอกไปมา (eye rolling) หายใจเร็ว hypothermia
ภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือด < 40 mg/dl
ในทารกแรกเกิดที่ไม่แสดงอาการผิดปกติ< 45 mg/dl ในทารกที่แสดงอาการผิดปกติ
ภาวะติดเชื้อ
(Neonatal sepsis)
การวินิจฉัยแยกโรค
Sepsis คือ มี SIRS > 2 ข้อ + มีตำแหน่งการติดเชื้อชัดเจน
Multiple Organ Dysfunction Syndrome คือ Organs Failure > 2
Severe Sepsis คือ มี sepsis + cardiovascular dysfunction/ ARDS/ OrganDysfunction > 2 organ
Systemic Inflammatory Response Syndrome (SIRS)
Tachy HR >160
WBC >15000 /mm3 .< 5000 mm3
T=>38/ <36
RR >50 /min
Septic Shock คือ Severe Sepsis + Hypotension, despite adequate fluid resuscitation
Infection คือ มีตำแหน่งการติดเซื้อ
ติดเชื้อจากเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำหัตถการต่างๆ รวมทั้งสิ่งแวดล้อมรอบตัวทารกในระยะหลังเกิดขณะที่อยู่ในโรงพยาบาล (nosocomial infection)
การพยาบาล
Supportive Care
การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ intravenous immunoglobulin (IVIG)
การรักษาเฉพาะโดยการให้ ATB
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
Observe sign sepsis ทุกระบบ
อาการและอาการแสดง
ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ดูไม่ค่อยสบาย ระบบการไหลเวียนโลหิต ซีด ตัวลายเป็นจ้ำ Hypothermia BT < 35.5 oC fever BT ≥ 38 oC
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ทำรกมีการติดเชื้อ
ด้านมารดา
คลอดนำน > 24 ชม
ถุงน้ำคร่ำแตก > 18 ชม. (PROM)
ด้านทารก
ใส่สำยสวนหลอดเลือด/ สะดือ ET-tube, IV
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
(Necrotizing Enterocolitis: NEC)
อาการและอาการแสดง
ท้องอืด กดเจ็บที่หน้าท้อง ดูดนมไม่ดี มีนมค้างในกระเพาะมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
การพยาบาล
NPO ทันที
ใส่ OG ต่อ bag
ให้ ATB + ให้ IVF ตาม Rx TPN + SMOF lipid
การป้องกัน NEC >> ให้นมแม่ เพิ่มภูมิคุ้มกันทางลำไส้
การอักเสบเน่าตายของระบบทางเดินอาหารเฉียบพลันมักพบใน Preterm LBW บริเวณลำไส้เล็ก ileum ascending colon caecum & transverse colon
นาย วีระยุทธ คงดำ รหัสนักศึกษา 6217701001114 Sec.2