Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - Coggle Diagram
องค์ประกอบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
องค์ประกอบที่1 การจัดทําป้ายชื่อ
ให้นักเรียนรู้จักชื่อ จากการสัมผัส การสังเกตพรรณไม้ หรือ ปัจจัยที่ศึกษา
เช่นเมื่อเห็นพรรณไม้ชนิดหนึ่งดอกคล้ายแตร สีแดง อาจชื่อดอกแตรแดง ตั้งไว้ก่อน แล้วจึงศึกษาเรื่องอื่นๆ ก่อน ในการที่จะเรียนรู้ธรรมชาติ ใช้ความเป็นธรรมชาติของเด็ก
ธรรมชาติของเด็ก
เช่นการศึกษาลักษณะวิสัย รูปทรง สี กลิ่น ตามแบบการเรียนรู้ เป็นการรู้แบบคร่าวๆ ซึ่งหาก สามารถรู้อย่างละเอียดได้จะดี การค้นคว้าในตอนหลังได้
ขั้นตอนการจัดทําป้ายชื่อพรรณไม้
สํารวจ ติดชื่อพื้นเมือง และเลขหมายประจําต้น
การศึกษาโครงสร้างส่วนประกอบ และการจําแนกชนิดพืช โดยใช้เอกสาร การศึกษาพรรณไม้ ก 7-003
การจัดทําตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
การจัดทําผังพรรณไม้
การจัดทําทะเบียนพรรณไม้
การจัดทําป้ายชื่อพรรณไม้ที่สมบูรณ์
องค์ประกอบที่ 2 การรวบรวมพันธุ์ไม้นําเข้าปลูกในโรงเรียน
การรวบรวมพันธุ์ไม้เข้าปลูกในโรงเรียนอาจเป็นพืชในกลุ่มที่สนใจโดยเน้นพืชพรรณไม้ใน ท้องถิ่น ซึ่งอาจมีการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้ชื่อที่ถูกต้องตามวิธีการ จัดทําป้ายชื่อ โดยมีการบันทึก แหล่งที่เก็บรวบรวม ข้อมูลการใช้ประโยชน์ของท้องถิ่น จะเป็นองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
จัดทําแผนผังพันธุ์ไม้ทั้งที่มีอยู่เดิม และการนําเข้าปลูกรวบรวม
พืชพรรณไม้ท้องถิ่น
พืชในกลุ่มที่สนใจ
• สมุนไพร
• พืชผักพื้นเมือง
จัดทําแผนผังพันธุ์ไม้ในโรงเรียนทั้งที อยู่เดิมและปลูกเพิ่ม
องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ
“ธรรมชาติการเรียนรู้” การศึกษาเพื่อให้เกิดธรรมชาติการเรียนรู้ ความ หลายหลาก และธรรมชาติแห่งชีวิต
การศึกษาด้าน
ชีววิทยา
เกิดความรู้ในเรื่องต่างๆ
นิเวศวิทยา
การเจริญเติบโต สันฐานของ
การปลูกเลี้ยงและการดูแลรักษา
ราก ลําต้น ใบ ดอก ผล
การใช้ประโยชน์ในท้องถิ่น
สภาพนิเวศฯลฯ
ศึกษา ธรรมชาติแห่งชีวิต
“รู้การเปลี่ยนแปลง รู้ความแตกต่าง รู้ชีวิต”
ศึกษา สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว
“ รู้สัมพันธ์ รู้ผูกพัน รู้ดุลยภาพ”
ศึกษา ประโยชน์แท้แก่มหาชน
เห็นศักยภาพแต่ละส่วน การสัมผัสต่างๆ มีศักยภาพอย่างไร รู้ศักยภาพแต่ละส่วนแต่ละตอน มองสู่ จินตนาการ นําสู่ประโยชน์ที่จะเกิด เห็นคุณที่เกิดแก่ตน แก่ครอบครัว สังคม และแก่มหาชน ประเทศชาติ
ศึกษา ผันสู่วิถใหม่ในฐานไทย
การนําไปสู่แนวทางใหม่ ในฐานทรัพยากรไทย ภูมิ ปัญญาไทยนําไปสู่มาตรฐานสากล โดยปฏิบัติตนตั้งมั่นอยู่ใน ความเป็นไทย
องค์ประกอบที่ 4 การเขียนรายงาน
“ รู้สาระ รู้สรุป รู้สื่อ “
การรวบรวมรายงานจากการศึกษา
รายงาน
• ข้อมูลเก็บในมุมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
• ศึกษาต่อเนื่องให้ได้ข้อมูลถูกต้อง ชัดเจน
นําเสนอ
• เกิดผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่นของพืชชนิดนั้นๆ
องค์ประกอบที่ 5 การนําไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดําเนินงาน
จะเกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
จะเป็นแหล่งข้อมูลพืชพรรณและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่กระจายทั่วประเทศ ในเขตการศึกษาต่างๆ
เป็นส่วนหนึ่งของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
นักเรียน เยาวชน จะมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์พืชพรรณของท้องถิ่น ตระหนัก เห็นคุณ รู้ค่า
เมื่อนักเรียน เยาวชนได้ซึมซับเกี่ยวกับพืชพรรณ ใก้ชิดธรรมชาติ ก่อให้เกิดจิตใจที่อ่อนโยน มีสมาธิในการเรียน การทํางาน ผลงาน
การนําสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการในการเรียนการสอน
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาสังคมศึกษา
วิชาภาษาไทย
วิชาศิลปศึกษา
วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ
วิชาเกษตร
วิชาคหกรรม
วิชาภาษาต่างประเทศ
วิชาวิทยาศาสตร์
วิชาพลานามัย
วิชาพลศึกษา
วิชาสุขศึกษา