Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทยG3P3A0L2 - Coggle Diagram
หญิงไทยG3P3A0L2
-
-
-
ระยะที่3ของการคลอด
-
การลอกตัวของรก
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของมดลูก (Uterine sign) เมื่อรกลอกตัวหมดแล้วมดลูกจะเปลี่ยนรูปร่างจากกลมแบนใหญ่นุ่มและอยู่ต่ำกว่าสะดือเป็นก้อนนูนเล็กแข็งอยอยู่สูงกว่าสะดือเล็กน้อยค่อนไปทางขวาเนื่องจากด้านซ้ายมีลำไส้ใหญ่และโดยส่วนมากยอดมดลูกมักอยู่สูงกว่าระดับสะดือ 2. การมีเลือดออกทางช่องคลอด (Vulva sign) เลือดที่ออกมานี้ประมาณ 30-60 มิลลิลิตรมักพบในรกที่มีการลอกตัวแบบ Metthews Duncan's method ถ้ารกลอกตัวแบบ Schultze's method มักจะไม่มีเลือดออกมาให้เห็น 3. การเคลื่อนค่าของสะดือ (Cord sign) เมื่อรกลอกตัวหมดแล้วสายสะดือจะเหี่ยวเกลียวคลายและคล่าชีพจรไม่ได้และสายสะดือจะเลื่อนาลงมาจากที่เดิม 8-10 ซม.
o:กรณีศึกษามีการลอกตัวของรกแบบMatthew Duncan Methodน้หนักรกประมาณ700g.พบ Uterine Sign มดลูกมีลักษณะกลมแข็งอยู่ระดับสะดือเยื้องไปด้านขวาเล็กน้อยเนื่องจากด้านซ้ายมี Colon อยู่-พบ Vulva signมีเลือดไหลออกมาประมาณ50cc -Cord Sign มีการเลื่อนลงของสายสะดือประมาณ 8-10 เซนติเมตรชีพจรของสายสะดือหายไปเกลียวของสะดือคลายออก -Cord test การกดบริเวณเหนือหัวเหล่าสายสะดือไม่เลื่อนตามขึ้นไป
การตรวจรก
1) เส้นเลือดที่สายสะดือ ผู้ทําคลอดสามารถตรวจเส้นเลือดที่สายสะดือได้ตรงบริเวณที่ตัดสายสะดือ สายสะดือปกติจะมีเส้นเลือดแดง 2 เส้นและเส้นเลือดดำ 1 เส้น เส้นเลือดดำจะมีขนาดใหญ่กว่าเส้นเลือดแดง จึงทำให้เห็นเส้นเลือดดำได้ชัดเจนกว่า
-
3) สีของสายสะดือ สายสะดือปกติจะมีสีขาว ถ้าตรวจพบว่าสายสะดือมีลักษณะเปื่อยง่ายแสดงว่าเกิดการติดเชื้อสายสะดือมีสีเหลืองอาจเนื่องมาจากทารกมีภาวะขาดออกซิเจนและมีขี้เทาในน้ำคร่ำ
4) ปมที่สายสะดือ (knot)
- False knot สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ false vascular knot ซึ่งเกิดจากเส้นเลือดดำขมวดรวมตัวกันเป็นกลุ่ม มีลักษณะคล้ายเส้นเลือดขอด false knot อีกชนิดหนึ่งคือ false jelly knot มี ลักษณะเป็นปมสีขาวเกิดจาก Wharton jelly ที่หุ้ม รอบเส้นเลือดที่สายสะดือรวมตัวกันเป็นปม
- True knot เกิดจากสายสะดือผูกกันเป็นปมแน่นเหมือนผูกเชือกเนื่องจากสายสะดือยาวมากและทารกเคลื่อนไหวขณะอยู่ในครรภ์ทำให้ตัวทารกลอดสายสะดือไปมาจนผูกกันเป็น ปม มีผลให้ทารกในครรภ์เสียชีวิตได้แต่พบได้น้อย
5) การเกาะของสายสะดือ
- Insertio centralis หรือ Central insertion สายสะดือติดอยู่กลาง chorionic plate
- Insertio lateralis หรือ Lateral insertion สายสะดือติดค่อนไปทางด้านใดด้านหนึ่งบน chorionic plate
-
- Insertio marginalis หรือ Marginal insertion สายสะดือติดอยู่ที่ริมขอบรก รกที่มีสายสะดือเกาะ เช่นนี้จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า battledore placenta
- Insertio velamentosa หรือ Membranous insertion เป็นรกที่มีการเกาะของสายสะดือที่ผิดปกติ คือ สายสะดือเกาะอยู่บนเยื่อหุ้มทารกชั้น chorion และมีแขนงของเส้นเลือดจากสายสะดือทอดต่อไปถึง chorionic plate
การตรวจรกด้านลูก
- สีของรกด้านทารก ปกติสีฟ้าอมเทาเป็นมัน การมีสีเหลืองแสดงว่าทารกมีการถ่ายขี้เทา เนื่องจากการขาดออกซิเจน
-
- ขนาดและความหนาของเนื้อรก รกปกติมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15-20 ซม. หนา 2-3 ซม.
-
- เส้นเลือดที่ทอดจากสายสะดือไปริมขอบรก เส้นเลือดปกติจะทอดไปสิ้นสุดห่างจากขอบรก 1 - 2 ซม.
-
การตรวจเยื่อหุ้มทารก
.1 รอยแตกของถุงเยื่อหุ้มทารกปกติจะห่างจากขอบรกไม่น้อยกว่า 7 ซม. ถ้ารอยแตกใกล้ขอบรกมากแสดงว่ารกเกาะต่าลงมาใกล้ปากมดลูก .2 สัดส่วนของเยื่อหุ้มทารกชั้น Amnion และ Chorion ว่าสมดุลกันหรือไม่ทั้ง 2 ชั้นจะเท่ากับชั้น Ampion อยู่ด้านลูกมีลักษณะบางใสเป็นมันและเหนียวส่วนชั้น Chorion อยู่ด้านแม่มีลักษณะขาวขุ่นขาดได้ง่ายกว่าจึงมักจะขาดตกค้างในโพรงมดลูก
O:รอยแตกของถุงเยื่อหุ้มทารกปกติห่างจากขอบอก 8 ซม. -Amnion อยู่ด้านลูกมีลักษณะบางใสเป็นมันและเหนียวส่วนชั้น Chorion อยู่ด้านแม่มีลักษณะขาวขุ่นขาดได้ง่ายกว่า
ด้านมารดา
มีCotyledon ซึ่งจะพบร่องหรือ Placental sulcus แบ่งออกเป็นก้อน ๆ ประมาณ 15-20 ก้อนอาจพบเนื้อตาย (Infarction) จะเห็นเป็นก้อนแข็งสีขาวบนเนื้อรกซึ่งอาจเกิดจากการเสื่อมตามธรรมชาติหรือมารดามีภาวะแทรกซ้อนเช่นความดันโลหิตสูงหรือโรคเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือดและอาจจะมีหินปูนที่จับกับบนเนื้อรก (Calcification) เป็นเม็ดสีขาวขนาดเล็กและสากมือเกิดจากการสะสมของแคลเซียมคาร์บอเนตแคลเซียมฟอสเฟตและแมกนีเซียมฟอสเฟต
-