Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกส…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์
การสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ไทย
ฟาน ฟลีตหรือวิ๋น วลิต พ่อค้าชาวฮอลันดาที่
เข้ามาติดต่อ ขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ได้บันทึกหลักฐาน เกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองไทยสมัย อยุธยา
ซึมง เดอ ลาลูแบร์ เป็นทูตชาวฝรั่งเศส
เดินทางเข้า มาเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับฝรั่งเศส มี จดหมายเหตุเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ วิถีชีวิต
นิโกลาส์ แชรแวสะเป็นชาวฝรั่งเศส
มีเขียนบันทึก เรื่องประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราช อาณาจักรสยาม
พระสังฆราชปาลเลอกัวซะเป็นบาทหลวงชาว ฝรั่งเศส
ที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาและพำนักอยู่ใน สมัยรัชกาลที่3
เฮนรี่ เบอร์นีย์ เป็นทูตอังกฤษที่เดินทางมาเจรจา และได้ทําบันทึกรายงานการเจรจาทางการทูต
ที่เดินทางมาเจรจา และได้ทําบันทึกรายงานการเจรจาทางการทูต
เซอร์จอห์น เบาว์ริง เอกอัครราชทูตพิเศษชาว อังกฤษ เบาว์ริง
ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย ชื่อthe kingdom and people of siamหรือ ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม
การสร้างองค์ความรู้ทาง
ศิลปกรรม
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
เป็นศิลปินชาวอิตาลี อ คอร์ราโด เฟโรซี เป็นผู้รอบรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ วิจารณ์ศิลปะและปรัชญาโดยเฉพาะความสามารถ ทางด้านศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรม
นายคาร์ล ดอริง
สถาปนิกชาวเยอรมัน นายช่าง ประจํากรมรถไฟ เป็นผู้ออกแบบวังวรดิศ
นายริโกลี จิตรกรชาวอิตาลี
ผู้วาดภาพ จิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคม และภาพจิตรกรรมพระอุโบสถวัดราชาธิ วาสราชวริหาร
การแพทย์
หมอบรัดเลย์
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่น แรกๆที่เดินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนา เริ่มการ รักษาด้วยวิธีการทําการผ่าตัดในประเทศไทย เป็นครั้งแรก
หมอเฮาส์
เป็นแพทย์คนแรกที่นำวิธีการ ผ่าตัดโดยใช้ยาสลบมารักษาผู้ป่วยใน ประเทศไทย
ชอร์ช บี.แมคฟาร์แลนด์
มาสอนนักเรียน แพทย์ฝึกหัดชาวไทยที่โรงเรียนแพทยาลัย ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลศิริราช พร้อมเปิดคลินิกรักษาโรคฟัน
การศึกษา
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์ กอลมเบิร์ตะชาว ฝรั่งเศส เจ้าอาวาสวัดอัสสัมชัญ
ได้ก่อตั้ง โรงเรียนประจำวัด ซึ่งคือโรงเรียนอัสสัมชัญ
เจษฎาจารย์ ฟ.ฮีแลร์/ฟรังซัว ตูเวอเนต์ ภราดาชาวฝรั่งเศสในคณะภราดาเซนต์คาเบียล
มีการสร้างโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยคณะ กราดาเซนต์คาเบียลหลายแห่ง ทั้งในเขต กรุงเทพและต่างจังหวัด
นางแฮร์เรียต เฮาส์
เปิดโรงเรียนสำหรับ เด็กหญิงแห่งแรกในประเทศไทย ชื่อ โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง
ดร.ซามูเอล อาร์.เฮาส์และศาสนาจารย์ สตีเวน แมตตูน
เปิดโรงเรียนสำหรับ เด็กชายหรือเป็นโรงเรียน กรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน