Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา ระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
กรณีศึกษา
ระบบทางเดินอาหาร
วิเคราะห์ปัญหาตามหลัก SOAP
S : ผู้ป่วยบอกว่าปวดท้องด้านซ้ายมาก ท้องอืด ไม่สามารถผายลมได้ ไม่มีไข้ ไม่มีถ่ายเหลว ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่ถ่ายมา 3 วัน
O
ปวดท้องรุนแรง pain score = 8
อัตราการเต้นของชีพจร 102 bpm.
กดเจ็บบริเวณ left inguinal
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ NE ,LY 5.7, WBC.,Creatinine, Sodium
A : ภาวะลําไส้อุดตันเกิดขึ้นเมื่ออาหารไม่สามารถผ่านทางเดินอาหารได้ ต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน
P
รับประทานอาหารที่มีกากใยหรือไฟเบอร์มากขึ้น เพื่อเพิ่มปริมาณอุจจาระและกระตุ้นการเคลื่อนไหว
ภายในลำไส้ใหญ่ให้เร็วขึ้น
ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อวันจะทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม ถ่ายง่าย
ควรรับประทานอาหารทุกเช้า เพราะอาหารเช้าจะช่วยให้กระเพาะอาหารขยายตัวและไปกระตุ้น
ลำไส้ใหญ่ทำงานให้เกิดความรู้สึกอยากถ่าย
ออกกำลังกายจะช่วยให้ผู้ป่วยที่ไม่ค่อยเคลื่อนไหวถ่ายอุจจาระได้ดีขึ้น
Plan for treatment
Specific treatment
Ceftriaxone 2 g vein q OD ให้เพื่อฆ่าเชื้อ
แบคทีเรีย
Metronidazole 500 mg ยา
ปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย
Observe abdominal sign สังเกตอาการ
ปวดปวดท้องอย่างต่อเนื่อง
symptomatic treatment
Losec 40 mg vein q 12 hr ออกฤทธิ์ช่วย
ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
On IV 0.9% NSS 1000 ml vein 80ml/hr
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Supportive treatment
NPO เพื่อป้องกันเศษอาหารสำลักเข้าปอด
ในภาวะฉุกเฉินที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด และ ไม่ให้เกิด
อาการท้องอืดมากขึ้นจากการอุดตันของลำไส
การวางแผนก่อนกลับบ้าน
D: Diagnosis
เป็นภาวะท้องผูกที่เกิดจากความเสื่อมโทรมตามวัยผู้สูงอายุ ส่งผลให้สรีระทางร่างกาย
ในระบบทางเดินอาหารมีการเปลี่ยนแปลง จึงทำให้มีการอุดตันบริวณลำไส้ ผู้ป่วยจึงมีอาการปวดท้อง ถ่ายลำบาก
ต้องเบ่งถ่าย
M: Medicine
การรับประทานยาระบาย ยาระบายมีหลายฤทธิ์ เช่น ยากลุ่มที่เพิ่มปริมาณอุจจาระ ยา
ที่ดูดน้ำกลับเข้ามาในลำไส้ ยาที่ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม ยาระบายชนิดสวน ยาระบาย
E: Environment
การถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาและตอบสนองความรู้สึกอยากถ่าย เมื่อรู้สึกปวดถ่าย
อุจจาระควรให้เวลากับการถ่ายอุจจาระให้เพียงพอ โดยเวลาที่เหมาะสมคือ หลังตื่น
นอนเวลาเช้า
T: Treatment
อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ ถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์
เวลาถ่ายอุจจาระต้องเบ่งมากกว่าปกติ อุจจาระเป็นก้อนแข็งกว่าปกติ รู้สึกถ่ายอุจจาระไม่สุด ต้องใช้นิ้วมือช่วยในการถ่ายอุจจาระ
H: Health
ออกกำลังกายจะช่วยให้ผู้ป่วยที่ไม่ค่อยเคลื่อนไหวถ่ายอุจจาระได้ดีขึ้น
ฝึกให้ผู้ป่วยรู้จักการเบ่งอย่างถูกวิธี โดยใช้เครื่องมือพิเศษ
O: Out patient
สามารถตรวจสุขภาพตามคลินิก หรือสถานพยาบาลใกล้บ้านได้ หากมีอาการผิดปกติ
ควรรีบพบแพทย์ทันที
D: Diet
รับประทานอาหารที่มีกากใยหรือไฟเบอร์มากขึ้น เพื่อเพิ่มปริมาณอุจจาระและกระตุ้นการเคลื่อนไหวภายในลำไส้ใหญ่ให้เร็วขึ้น
ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อวันจะทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม ถ่ายง่าย
ควรรับประทานอาหารทุกเช้า เพราะอาหารเช้าจะช่วยให้กระเพาะอาหารขยายตัวและไปกระตุ้นลำไส้ใหญ่ทำงานให้เกิดความรู้สึกอยากถ่าย
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันกลับมาเป็นซ้ำ
การดูแลรักษาความสะอาด
การรับประทานอาหาร
การออกกำลังกาย
ท่านั่งพับขา ก้มแตะ
นอนหงาย ดึงเข่าหาหน้าอก
ท่าบิดสันหลัง
พฤติกรรมการขับถ่าย
การดื่มเครื่องดื่มร้อนๆ ในตอนเช้า เช่น
น้ำชาหรือกาแฟ อาจช่วยกระตุ้นให้มีการบีบตัวของลำไส้และส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ การออกกำลังกายอย่าง
สม่ำเสมอทุกวันช่วยการขับถ่ายด้วยเช่นกัน