Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล, นางสาวไปรยา…
บทที่ 4
วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมและการเลือกใช้
การเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.กลุ่มที่ต้องการเก็บข้อมูลหรือกลุ่มผู้ถูกวัด
2.สิ่งที่วัดหรือลักษณะที่มุ่งวัด
3.จำนวนตัวอย่างที่ใช้ในการทำวิจัย
4.ลักษณะของข้อมูลที่ต้องใช้ในการวิจัย
5.ช่วงเวลาในการทำวิจัย
6.ประเด็นวิจัยหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย
วิธีการใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.การทดสอบ
2.การสอบถามหรือสำรวจ
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การสนทนากลุ่ม
6.การวิเคราะห์เอกสาร
7.สังคมมิติ
แบบสัมภาษณ์
ประเภทของแบบสัมภาษณ์
1.แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
เป็นแบบสัมภาษณ์ที่กำหนดทั้งคำถามและคำตอบไว้ให้เลือกอย่างละเอียด
2.แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
จะกำหนดเพียงแนว หัวข้อการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์จะระบุข้อความกวางที่เป็นแนวทาง ในการถามเปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็น
ขั้นตอนการสร้างแบบสัมภาษณ์
1.การวางแผนการสร้างแบบสัมภาษณ์
2.การสร้างข้อคำถามและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
3.ทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
แบบทดสอบ
ประเภทของแบบทดสอบ
1.แบบทดสอบหลายตัวเลือก
2.แบบทดสอบถูกผิด
3.แบบทดสอบจับคู่
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
1.การวางแผนการสร้างข้อสอบ
2.การเขียนข้อสอบและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
3.การทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
แบบสังเกต
รูปแบบของแบบสังเกต
1.แบบตรวจสอบรายการ
2.แบบมาตราประมาณค่า
3.แบบให้คะแนน
4.แบบบันทึกพฤติกรรม
ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต
1.การวางแผนการสร้างแบบสังเกต
-ระบุจุดมุ่งหมาย
-ศึกษาทฤษฎี
-กำหนดประเภทของรายการ
2.สร้างข้อความหรือรายการและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
-สร้างข้อความ/ รายการของแบบสังเกต
-จัดทำแบบสังเกต
-ตรวจสอบแบบสังเกต
ทดลองใช้แบบสังเกตและตรวจสอบคุณภาพ
แบบสรุปข้อมูลจากเอกสารและการสนทนากลุ่ม
1.แบบบันทึกหรือวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร
ในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนผู้วิจัยจำเป็นต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ เช่น การประเมินความรู้ของนักเรียน ตัวบ่งชี้ความรู้ o-net
การสร้างแบบบันทึก/ วิเคราะห์ข้อมูลยังคงใช้ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือในรูปแบบเดียวกับเครื่องมือการวัดอื่นๆ
แบบรายการประเด็นการสนทนากลุ่ม
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จัดการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม เพื่อให้กลุ่มที่มีประสบการณ์ร่วมกันมีโอกาสแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่ม
แบบสอบถาม
รูปแบบของคำตอบในแบบทดสอบ
1.คำถามปลายปิด
-แบบเลือกตอบ
-แบบมาตราประมาณค่า
2.คำถามปลายเปิด
ข้อดีของแบบสอบถาม
-สะดวกในการตรวจสอบ
-สะดวกต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อจำกัดของแบบสอบถาม
-ใช้ได้เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่อ่านได้เขียนได้
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
1.การวางแผนสร้างแบบทดสอบ
2.การเขียนข้อคำถามและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
3.ทดลองใช้เครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
ประเภทและการเลือกใช้เครื่องมือ
ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1.เครื่องมือในการดำเนินการวิจัยหรือเครื่องมือที่ใช้ทดลอง
2.เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเลือกใช้เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล
5.ระยะเวลาและงบประมาณที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
4.ข้อดีและข้อจำกัดของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล
2.แหล่งข้อมูลและวิธีการรวบรวมข้อมูล
1.วัตถุประสงค์และตัวแปรในการวิจัย
นางสาวไปรยา สืบปันอุด 611120330 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์