Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิธีการใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล - Coggle Diagram
วิธีการใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการเลือกใช้ :
การเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
จำนวนตัวอย่างที่ใช้ในการทำวิจัย
ลักษณะของข้อมูลที่ต้องใช้ในการวิจัย
สิ่งที่วัดหรือลักษณะที่มุ่งวัด
ช่วงเวลาในการทำวิจัย
กลุ่มที่ต้องการเก็บข้อมูลหรือกลุ่มผู้ถูกวัด
ประเด็นวิจัยหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย
วิธีการใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสัมภาษณ์
การสังเกต
การสอบถามหรือการสำรวจ
การทดสอบ
สังคมมิติ
การสนทนากลุ่ม
การวิเคราะห์เอกสาร
ประเภทของเครื่องมือ
ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือในการดำเนินการวิจัยหรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
การเลือกใช้เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
ข้อดีและข้อจำกัดของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หนึ่งข้อมูลและวิธีการรวบรวมข้อมูล
ระยะเวลาและงบประมาณที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วัตถุประสงค์และตัวแปรในการวิจัย
แบบทดสอบ
แบบทดสอบเขียนตอบ
แบบทดสอบเลือกตอบ
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
การเขียนข้อสอบและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
การวางแผนการสร้างข้อสอบ
การทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
แบบสัมภาษณ์
ประเภทของแบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ข้นตอนการสร้างแบบสัมภาษณ์
การสร้างข้อคำถามและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
จัดทำแบบสัมภาษณ์
ส่วนที่สอง รายละเอียดส่วนตัว
ส่วนที่สาม รายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์
ส่วนที่หนึ่ง ข้อมูลอื่นๆ เกี่ยวกับการสัมภาษณ์
สร้างข้อคำถามหรือหัวข้อของคำถามหรือแนวทางในการตั้งคำถาม
ตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์ก่อนนำไปทดลองใช้
ทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
ตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์
จัดทำแบบสัมภาษณ์ฉบับจริง
นำแบบสัมภาษณ์ไปทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย
การวางแผนการสร้างแบบสัมภาษณ์
ระบุจุดมุ่งหมายในการใช้แบบสัมภาษณ์ให้ชัดเจน
ศึกษาทฤษฎี แนวคิด และการวิจัย
นิยามเชิงปฏิบัติการสำหรับประเด็นหลักและประเด็นย่อย
จัดทำตารางโครงสร้างแบบสัมภาษณ์
วิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆของตัวแปร
กำหนดประเภทของคำถาม โดยขึ้นอยู่กับรูปแบบของการสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
รูปแบบของคำถามในแบบสอบถาม
การให้เลือกตอบ
มากกว่าหนึ่งคำตอบ
เพียงคำตอบเดียว
การวางแผนการสร้างแบบสอบถาม
ระบุให้ชัดเจนว่าจะนำไปใช้วัดตัวแปรใด
แบบสรุปข้อมูลจากเอกสารและการสนทนากลุ่ม
แบบบันทึกหรือวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร
แบบรายการประเด็นการสนทนากลุ่ม
แบบสังเกต
ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต
การสร้างข้อความหรือรายการและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
สร้างข้อความหรือรายการของแบบสังเกต
จัดทำแบบสังเกต
ส่วนที่หนึ่ง ข้อมูลอื่นๆ เกี่ยวกับการสังเกต
ส่วนที่สอง รายละเอียดส่วนตัว
ส่วนที่สาม รายการพฤติกรรมที่ต้องการตรวจสอบ
ตรวจสอบแบบสังเกตก่อนนำไปใช้
ทดลองใช้แบบสังเกตและตรวจสอบคุณภาพ
การวางแผนการสร้างแบบสังเกต
ศึกษาทฤษฎี แนวคิด ละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กำหนดประเภทของรายการ
ระบุจุดมุ่งหมายในการใช้แบบสังเกต
รูปแบบของแบบสังเกต
แบบมาตรประมาณค่า
แบบให้คะแนน
เกณฑ์รวม
เกณฑ์ย่อย
แบบตรวจสอบรายการ
แบบบันทึกพฤติกรรม ควรประกอบด้วย 3 ส่วน
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การตีความหมาย
รายละเอียดของผู้สังเกต