Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ, นางสาวพิชญาภา น้อยเงิน ปี 3 เลขที่…
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การหายใจวายระดับ Tissue
Anemic Hypoxia
Hb ต่ำ ซีด
Histotoxic Hypoxia
มี O2 มากแต่ เซลล์ใช้ O2 ไม่ได้
Hypoxemic Hypoxia
PaO2 ต่ำ
Circulatory Hypoxia
ระบบไหลเวียนล้มเหลว
Demand Hypoxia
ไข้ Metabolism สูง
Respiratory Failure
แบ่งเป็น 2 อย่าง
1.Respiratory drive การหายใจล้มเหลว
2.Gas Exchange การแลกก๊าซเปลี่ยนล้มเหลว
Oxygen Failure
PaO2/FiO2
มีค่า < 200
มีปัญหาการแลกเปลี่ยนก๊าซปานกลาง
<100-150
มีปัญหาการแลกเปลี่ยนก๊าซมาก
ค่าปกติ 550-600
สาเหตุ ออกซิเจนในเลือดต่ำ
1.ผิดปกติไม่เกี่ยวกับปอด
Cardiovascular
ออกซิเจนพอ แต่ร่างกายใช้มากผิดปกติ ไข้สูง
3.Pump Failure
กลไกในการสูบลมเข้าออกจากปอดล้มเหลว
2.ปอดผิดปกติ
Hypoventilation
ได้ออกซิเจนต่ำ
Diffusion defect
มีความผิดปกติของการแพร่ของก๊าซผ่านผนังถุงลม
Shunt effect
การดูแลผู้ป่วยหายใจล้มเหลว
ช่วยหายใจให้พอ
ให้ O2 ให้พอ
Air Way
หาสาเหตุของโรคและแก้ไขปัญหา
อาการแสดงของภาวะหายใจล้มเหลว
หายใจเบาตื้น
ใช้กล้ามเน้อช่วยหายใจมากขึ้น
หายใจเร็ว > 30 หรือ < 10 ครั้ง/ นาที
Respiratory Paradox
หน้าอกและท้องไม่สัมพันธ์กัน
ภาวะแทรกซ้อนของการใช้เครื่องช่วยหายใจ
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติ
บาดเจ็บต่อปอดจากการใช้ความดันบวก
ถุงลมปอดแตก
Acute lung injury
กดการทำงานของหัวใจระบบไหลเวียน
กล้ามเนื้อช่วยหายใจต้องทำงานหนักมากขึ้น
Essential Ventilator Parameter
Respiratory rate (RR)
หลักการ ปรับให้เหมาะกับกลไกการหายใจ
คนปกติ
ใช้ VT 7 ml/kg แล้วใช้ RR = 20/min
ใช้ VT 10 ml/kg แล้วใช้ RR = 10-12/min
ถ้า RR > 20/min มักเกิด Auto PEEP
Inspiratory time (Tin)
Tin ต้อง ไมควรนานเกิน 1.5 s
Tin ต้องนานพอสําหรับ distribution of ventilation และเพื่อเพิ่ม mean Paw แต่ไม่นานเกินไปจน mean PAW สูงกว่าที่จำเป็น
ใน obstructive pathology มีResistance สูง Tin ต้องยาวขึ้น
ใน restrictive pathology มี Compliance ต่ำ Tin ต้องสั้นลง
Tidal Volume (VT)
หลักการไม่ให้ต่ำเกินไป ไม่ให้สูงเกินไป
ต่ำเกินไป
V/Q ผิดปกติ
Atelectasis
(< 10 cc/kg)
สูงเกินไป
Peak PALV เกิด VALI
Intra Thoracic Pressure สูง CO ต่ำ BP ต่ำ
Baseline pressure : PEEP
ป้องกันและแก้ไข atelectasis
ทำให ้Functional Residual
capacity : FRC เพิ่ม และลด shunt
Expiratory time (Tex)
Tex ต้องนานพอที่ก๊าซจะออกได้หมด ยิ่งนานยิ่งดี
Tex ต้องยาวกว่า Tin
Tex ยาวเกินไปไม่เกิดผลเสียอะไร
Tex = Tin อากาศจะออกไม่หมด
Tex ยิ่งยาว mean PAW ต่ำ และ ITP ต่ำ
Trigger sensitivity
ตั้งให้เหมาะสม ไม่ต่ำ หรือสูงเกินไป
ตั้ง ต่ำเกินไป ต้องใช้แรงดึงเครื่องมากเกิน -2 cmH2O
ตั้งสูงไป ไวเกินไป เกิด auto trigger โดยผู้ป่วยไม่ได้กระตุ้นเครื่อง
Inspiratory flow rate : IFR
ต้องไม่น้อยกว่า flow demand ของผู้ป่วย
IFR ใน PC‐V ไม่สามารถตั้งได้ เป็นผลลัพธ์ ต้องให้ flow
IFR ใน CV‐V ตั้งได้ ค่าที่ตั้งคือ peak flow
Pressure limit
หลักการ จำกัดไม่ให้ P สูงจนเกิดอันตราย
Peak P ALV สูง > 30-35 cm H2O เกิด VALI
Mean PAW สูง ทำให้ ITP ทำให้ BP ต่ำ
การระบายอากาศ
การระบายอากาศที่เพียงพอ ต้องมีค่า PaCO2 35-45 mmHg
ระดับ pH 7.35- 7.45
ภาวะ Hypoxemia
ภาวะที่มีการลดลงของความดันก๊าซออกซิเจนในเลือดแดง (PaO2)
PaO2 < 80 mmHg
mild hypoxemia
PaO2 < 60 mmHg
moderate hypoxemia
PaO2 < 40 mmHg
severe hypoxemia
การอ่านค่า ABG ต้องทราบค่า FiO2 เสมอ
PaO2/ FiO2 < 400 = Lung Injury
PaO2/ FiO2 < 200 = V/Q mismatch
ค่าปกติBlood Gas
pH 7.35 – 7.45
PaO2 80 – 100 mmHg
PaCO2 35 – 45 mmHg
HCO3‐ 22 – 26 mmHg
BE + 2.5 mEq/L
O2 Sat 95 – 99 %
ข้อบ่งชี้ที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
อัตราการหายใจผิดปกติ < 8-10 , > 35
กล้ามเนื้อหายใจทำงานไม่สัมพันธ์กัน
เหนื่อยจนพูดไม่ได้ กินไม่ได้ นอนไม่ได้
ABG แย่ลงเรื่อยๆ แม้จะมียังไม่มีภาวะหายใจวาย
ผู้ป่วยขอให้ช่วยหายใจ
ผู้ป่วยมีอาการแสดงว่ามี hypoxia
ผู้ป่วยหายใจเฮือก หยุดหายใจ
หลักการเฝ้าระวัง
การแลกเปลี่ยนก๊าซเพียงพอหรือไม่
ดูแรงดันน และความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง
ค่าO2 ในเลือดดำรวม
PvO2 ต้องมากกว่า 30 มม.ปรอท
SvO2 ต้องมากกว่า 60 ‐65 มม.ปรอท
ค่า Lactate ในเลือด
ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซ
PaO2 = ค่าร้อยละของออกซิเจน X 5
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ได้รับ O2 เพียงพอและไม่มีการคั้งของคาร์บอนไดออกไซด์
ติดตามผล ABG หรือ O2sat
บันทึกปริมาตรอากาศที่หายใจออกของผู้ป่วยแต่ละครั้ง
ดูแลให้ ET-Tube อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่เลื่อนหลุด
ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
Suction ใช้หลัก Aseptic Technique
ประเมินสภาพเพื่อป้องกัน VAP
ตรวจและบันทึกข้อมูลของการตั้งเครื่องช่วยหายใจ
ติดตามผล Chest X-ray
ประเมินสภพาผู้ป่วย
สังเกตลักษณะ เสมหะ สี กลิ่น
สาเหตุที่ทำให้ PaO2 ลดลงขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
เกิดจากการตั้งเครื่องไม่เหมาะสม ผู้ป่วยต้านเครื่อง
มีภาวะ demand > supply จากพยาธิสภาพของระบบหายใจ ทำให้O2 ลดลง มีภาวะshockขาดตรวจจับ O2(Hb)
การดูดเสมหะ กายภาพบำบัด
ให้ FiO2 ต่ำ PaO2 ต่ำด้วย
CO2 คั่งในถุงลม
วิธีแก้ไข
ลดการใช้O2
เพิ่ม FiO2 เพิ่มแรงดันอากาศในปอด, เพิ่ม PEEP
เพิ่ม Ventilation โดยใช้ยาขยายหลอดลม
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนจากผลทางสรีระวิทยาจากแรงดันบวก
การทำงานของหัวใจ venous return ลดลง preload
บาดเจ็บต่อปอด
ภาวะแทรกซ้อนจากการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
VAP
ทุพโภชนาการ
การพักผ่อน
Weaning from mechanical ventilation กระบวนการลดการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ประเมิน reserve เพียงพอหรือไม่ ดูการเปลี่ยน gas pH ปกติ และ respiratory muscle
Cardiovascular stable หรือไม่
Weaning protocol
HR change < 20 %
RR < 35 / min
pH > 7.32
BP change < 20 % (systolic)
Conscious ไม่เปลี่ยนแปลง
PaCO2 increase < 10 mmHg
O2 > 90 %
นางสาวพิชญาภา น้อยเงิน
ปี 3 เลขที่ 58
62111301060