Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ ร บ ข้อมูลข่าวสารของราชการ - Coggle Diagram
พ ร บ ข้อมูลข่าวสารของราชการ
หมวด 2 ข้อมูลข่าวสารที่ไ่ม่ต้องเปิดเผย
ม 14 ข้อมูลที่ก่อความเสียหายต่อสถาบันกษัตริย์จะเปิดเผยไม่ได้
ม 15 ข้อยกเว้นของข้อมูลที่ จนท รัฐ ไม่ต้องเปิดเผย
ม 16 อรัมภบทความชัดเจนของการปฏิบัติ
ม 17 การแจ้งและรับแจ้ง ข้อมูลข่าวสารของราชการ ของ จนท ผู้รับแจ้ง
ม 18 กรณี จนท ถูกร้องเรียนในเรื่องการไม่เปิดเผยข้อมูล หรือผู้ใดไม่ได้รับความเป็นธรรม ผู้นั้นสามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิฉัยภายใน 15 วัน
ม 20 เงื่อนไขที่ จนท รัฐไม่ต้องรับผิดชอบกรณีไม่เปิดเผยข้อมูล
หมวด 1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ม 7 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐส่งข้อมูลข่าวสารอะไรบ้างเพื่อลงพิมพ์ในราชกิจจาฯ
ม 8 กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ที่มีผลต่อเอกชนที่เกี่ยวข้อง จะนำมาบังคับใช้อย่างรัดกุมในทางที่ไม่ก่อประโยชน์ไม่ได้ เว้นแต่ผู้นั้นมีรู้อยู่แล้วตั้งใจละเมิด
ม 9 ภายใต้ ม 14 ม 15 หน่วยงานรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของทางราชการตามลายเอียดกำหนดของ ม 9 ไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้
ม 10 เงื่อนไขของบทบัญญัติตาม ม 7 ม 9
ม 11 กำหนดให้หน่วยงานรัฐรับผิดชอบต่อผู้ที่มาข้อมูลข่าวสารนั้นตามสมควร
ม 12 เงื่อนไขของผู้ที่มาขอข้อมูลตาม ม 11
ม 13 ประชาชนสามารถร้องเรียนต่อหน่วยงานของรัฐกรณีบกพร่องตาม ม 7 ม 9 และเงื่อนไขการร้องเรียนที่อาจเกี่ยวข้องกับ ม 15 ม 17 ม 25
หมวด 3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ม 21 นิยามคำว่า บุคคล
ม 22 สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักสภาความมั่นคงแห่งชาติ หน่วยงานรัฐตามที่กำหนดในกระทรวง มีอำนาจการออกระเบียบ เพื่อบังคับใช้กับข้อมูลบุคคลใยความควบคุมของตน
ม 23 กำหนดให้หน่วยงานรัฐปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ม 24เงื่อนไขการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานรัฐนั้นๆ
ม 25 สิทธิเจ้าของข้อมูลบุคคลนั้นที่ถูกนำไปใช้ และข้อปฏิบัติของหน่วยงานรัฐต่อเจ้าตัวและข้อมูล
หมวด 4 เอกสารประวัติศาสตร์
ม 26 ข้อกำหนด และข้อปฏิบัติต่อข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานรัฐไม่ประสงค์เก็บรักษาหรือหมดอายุ
หมวด 5 คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ม 27 กำหนดบุคคลที่เป็นคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ม 28 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
ม 29 เงื่อนไขการดำรงตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม ม.27
ม 30 หัวข้อการพ้นตำแหน่งนอกเหนือจากตามวาระ
ม 31 การจัดการประชุมของคณะ การมีมติในที่ประชุม
ม 32 อำนาจของคณะกรรมการในการเรียกพยานมาให้ถ้อยคำหรือวัตถุ
ม 34 คณะกรรมการสามารถแต่งตั้งอนุกรรมการได้
ม 33 คณะกรรมการมีอำนาจการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของราชการ ที่เกี่ยวข้องตามผู้ร้องเรียนขอ และข้อปฏิบัติต่อผู้ร้องเรียน
หมวด 6 คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ม 35 อำนาจของคณะกรรมการในการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ม 36 ข้อกำหนดบุคคลกรในคณะกรรมการวินิจฉัย
ม 37 การปฏิบัติในขั้นพิจารณาอุธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณา และคณะกรรมการวินิจฉัย
ม 38 อำนาจของคณะกรรมการวินิจฉัยให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจาฯ
ม 39 ให้นำ ม 29 ม 30 ม 32 มาบังคับใช้กับคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารโดยอนุโลม
หมวด 7 บทกำหนดโทษ
ม 40 กำหนดโทษของผู้ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการที่สั่งตาม ม.32
ม 41 โทษฝ่าฝืน ม 20
บทเฉพาะกาล
ม 42 ตาม ม 7 ม 8 ม 9 ไม่บังคับใช้ข้อมูลข่าวสารของราชการที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ พ ร บ นี้ใช้บังคับ
ม 43 ระเบียบความปลอดภัยแห่งชาติ พ ศ 2517 ยังคงใช้ต่อไป เว้นแต่ คณะรัฐมนตรีกำหนดตาม ม 16 จะกำหนดเป็นอื่น
ม 1 พ.ร.บ นี้เรียกว่า พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ ศ 2540
ม 2 พ.ร.บ.นี้ใช้บังคับหลังประกาศราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 90 วัน
ม 3 หากมีกฎอื่นแย้งที่บัญญัติไว้ในนี้ให้ถือใช้ฉบับนี้แทน
ม 4 กำหนดนิยามข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารข้องราชการ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ คณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล คนต่างด้าว
ม 5 กำหนดให้ นรม. รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอำนาจออกกฏกระทรวงเพื่อปฏิบัติตาม พ ร บ นี้
ม 6 จัดตั้งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารใน สำนักงานปลัดสำนัก นรม