Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระดับของภาษา, การเเบ่งระดับภาษา, ความสุภาพ 100 %, ความสุภาพ 75 %,…
ระดับของภาษา
เกิดจากปัจจัย 3 ประการ
เรื่องที่พูด
ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง
กาลเทศะ (เวลาเเละสถานที่)
เเบ่งเป็น 5 ระดับ
3.ระดับกึ่งทางการ
ภาษาที่ยังคงความสุภาพ เเต่ไม่เคร่งครัด เช่น สารคดี
ระดับไม่เป็นทางการ
ใช้สนทนาโต้ตอบกับบุคคลที่รู้จักในสถานที่การประชุมที่คนน้อยๆ
ระดับทางการ
ภาษาระดับมาตรฐาน ราชการ อยู่ในรายงานวิทยานิพนธ์ เเละหนังสือราชการ
ระดับกันเอง
ภาษาปาก หรือภาษาสนิทสนม เช่น เรื่องสั้น นวนิยาย
1.ระดับพิธีการ
ภาษาสมบูรณ์แบบ ถูกต้องตามไวยากรณ์
การใช้กราบเรียน ตามหนังสือราชการ
1.ประธานองคมนตรี
2.นายกรัฐมนตรี
3.ประธานรัฐสภา
4.ประธานสภาผู้เเทนราษฎร
5.ประธานวุฒิสภา
6.ประธานศาลฎีกา
7.รัฐบุรุษ
8.ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
9.ประธานศาลปกครองสูงสุด
10.ประธานกรรมการเลือกตั้ง
11.ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนเเห่งชาติ
12.ประธานกรรมการป้องกันเเละปราบปรามการทุจริตเเห่งชาติ
13.ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
14.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
15.อัยการสูงสุด
ความเเตกต่างระหว่างภาษาพูดกับภาษาเขียน
1.ภาษาเขียนไม่มีสำนวนเปรียบเทียบหรือคำสเเลง
พลิกล๊อค
โดดร่ม
ชักดาบ
2.ภาษาเขียนไม่ใช้ตัวอักษรย่อ
พุทธศักราช (พ ศ )
กิโลกรัม (ก ก )
3.ภาษาเขียนใช้คำมาตรฐาน
สุนัข หมา
สุกร หมู
4.ภาษาพูดมักออกเสียงไม่ตรงกับภาษาเขียน
ฉัน ชั้น
เขา เค้า
5.ภาษาพูดสามารถเเสดงอารมณ์ของผู้พูดได้ดีกว่าภาษาเขียน
บ้า บ๊า
ใช่ ช่าย
ตาย ต๊าย
6.ภาษาพูดนิยมใช้คำช่วยพูดหรือคำลงท้าย
ไปไหนคะ
ไปตลาดค่ะ
7.ภาษาพูดนิยมใช้คำซ้ำเเละคำซ้อน
คำซ้ำ ดี๊ดี เก๊าเก่า อาหงอาหาร
คำซ้อน มือไม้ เดินเหิน ทองหยอด
8.ภาษาพูดมักเป็นภาษาเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะวัย
วัยรุ่น วัยโจ๋
เยี่ยมมาก เจ๋ง
9.ภาษาพูดมักเป็นภาษาไทยเเท้
พระมหากษัตริย์ ในหลวง
สามีภรรยา ผัวเมีย
10.ภาษาพูดมักยืมคำภาษาต่างประเทศ
เว่อร์ ( Over ) เกินควร เกินกำหนด
เเอ็บ ( Abnomal ) ผิดปกติ
การเเบ่งระดับภาษา
ความสุภาพ 100 %
ความสุภาพ 75 %
ความสุภาพ 50 %
ความสุภาพ 25 %
ความสุภาพ 0-24 %