Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วย 4 ภัยพิบัติทางธรรมชาติกับการจัดการภัยพิบัติ - Coggle Diagram
หน่วย 4 ภัยพิบัติทางธรรมชาติกับการจัดการภัยพิบัติ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
วาตภัย
ภัยต่างๆจากวาตภัย
ภัยที่เกิดจากพายุหมุนเขตร้อน
ภัยจากพายุทอร์นาโด
ภัยที่เกิดจากพายุฝนฟ้าคะนอง
เหตุการณ์วาตภัยที่รุนแรง
เหตุการณ์วาตภัยในภูมิภาคต่างๆของโลก
พายุไซโคลน"นารืกีส"
พายุเฮอร์ริเคน
พายุไซโคลน"ซิดร์'
เหตุการณ์วาตภัยภายในประเทศไทย
ประเภทและสาเหตุของวาตภัย
พายุหมุนเขตร้อน
พายุทอร์นาโด
พายุฝนฟ้าคะนอง
ภัยแล้ง
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้งของโลก
เกิดขึ้นในทุกทวีปทั่วโลก
ภัยต่างๆจากภัยแล้งที่รุนแรง
ปริมาณและคุณภาพน้ำเปลี่ยนแปลง ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
เกิดไฟป่าที่รุนแรง รวมถึงมลพิษทางอากาศ
ประชากรขาดแคลนน้ำอุปโภคปริโภค
ถ้าเกิดภัยแล้งรุนแรงต่อเนื่องหลายปี จะเกิดทุพภิกขภัย
ขาดแคลนน้ำสำหรับการเกษตร เกิดความขัดแย้งในการใช้น้ำ ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย
สาเหตุของการเกิดภัยแล้ง
ขาดแหล่งกักเก็บน้ำ
จำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น
ความผิดปกติของตำแหน่งร่องมรสุมหรือพายุ
การทำลายป่าต้นน้ำลำธาร
การผันผวนของสภาพกาลอากาศ
เหตุการณ์ภัยแล้งที่รุนแรง
พ.ศ. 2559
มีนาคม พ.ศ.2560
ประเภทของภัยแล้ง
ภัยแล้งทางเกษรตรกรรม
ภัยแล้งทางอุทกวิทยา
ภัยแล้งทางอุตุนิยมวิทยา
อุทกภัย
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยของโลก
เกิดขึ้นในทุกทวีปทั่วโลก
ภัยต่างๆจากอุทกภัยที่รุนแรง
พื้นที่เกษตรกรรมหรือพื้นที่เมืองได้รับความเสียหาย
เกิดความเสสียหายทางเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่นจากอุทกภัย
เกิดความเสียหายต่อทรัพยืสิน บ้านเรือน และสาธารณูปโภคต่างๆ
เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากน้ำท่วมฉับพลัน
สาเหตุการเกิดอุทกภัย
เกิดจากธรรมชาติ
ฝนตกหนักจากพายุฝนฟ้าคะนอง
หิมะละลาย
ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน
เกิดจากการกระทำของมนุษย์
การตัดไม้ทำลายป่า
การเติบดตของเมือง การสร้างถนนกีดขวางทางน้ำธรรมชาติ
เขื่อนพังหรืออ่างเก็บน้ำพัง
เหตุการณ์อุทกภัยที่รุนแรง
เหตุการอุทกภัยในภูมิภาคต่างๆของโลก
เหตุการณ์อุทกภัยในประเทศไทย
ประเภทของอุทกภัย
น้ำป่าไหลหลากหรือน้ำท่วมฉับพลัน
น้ำล้นตลิ่ง
สึนามิ
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดสึนามิของโลก
เขตวงแหวนแห่งไฟรอบชายฝั่งมหาสมุทรแปสิฟิก
ภัยต่างๆที่เกิดจากสึนามิที่รุนแรง
สิ่งปลูกสร้างและทรัพย์สินเสียหายจากการทำลายของคลื่น
สิ่งแวดล้อมชายฝั่งเสียหายจากคลื่นทำลาย
เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตจากคลื่น
ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เกิด
สาเหตุของการเกิดสึนามิ
การปะทุอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเลหรือเกาะภูเขาไฟปะทุ
เกิดแผ่นดินถล่มที่รุนแรงใต้ทะเล
เกิดแผ่นดินไหวใต้ทะเลหรือมหาสมุทรอย่างรุนแรง
อุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงทะเล
เหตุการณ์สึนามิที่รุนแรง
วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547
วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554
นิยามของสึนามิ
ภัยอันตรายจากคลื่นทะเลที่เกิดจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟปะทุใต้ทะเล
แผ่นดินถล่ม
สาเหตุการเกิดแผ่นดินถล่ม
สาเหตุจากธรรมชาติ
ฝนตกหนัก หิมะและน้ำแข็งในดินละลาย
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ
สาเหตุจากมนุษย์
การตัดไม้ทำลายป่าในเขตภูเขาสูง
การเพาะปลูกและสร้างสิ่งปลูกสร้างบนพื้นที่ลาดชัน
การก่อสร้างถนนในพื้นที่ลาดชันด้วยการตัดเชิงเขา
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินถล่มของโลก
บริเวณที่ลาดเชิงเขา
ประเภทของแผ่นดินถล่ม
ดินไหล
โคลนไหล
การเลื่อนไถล
หินพัง
การไหลลงของดิน
ภัยต่างๆจากแผ่นดินถล่มที่รุนแรง
เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจจากดินที่ถล่มปิดทับเส้นทางจราจร
เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย
พื้นที่ทางการเกษตรได้รับความเสียหายจากแผ่นดินถล่มทับ
เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน บ้านเรือน และสาธารณูปโภคต่างๆ
เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณที่เกิด
กระบวนการเกิดแผ่นดินถล่ม
เมื่อพื้นที่ลาดชันไม่สามารถรับน้ำหนักได้ทำให้เกิดดินถล่มลงมาการเคลื่อนที่ของมวลดินและหินมีความเร็วโดยมีน้ำเป็นตัวขับเคลื่อน
เมื่อน้ำใต้ผิวดินมีระดับสูงจะไหลภายในช่องว่างของดินลงมาตามความชันของพื้นที่ลาดชัน
เมื่อฝนตกหนักเป็นเวลานานน้ำจะซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็วในขณะที่ดินอุ้มน้ำจนอิ่มตัวแรงยึดเกาะระหว่างมวลดินจะลดลงระดับน้ำใต้ผิวดินสูงขึ้นจะทำให้แรงต้านทานการเลื่อนไหลของดินลดลง
เหตุการณ์แผ่นดินถล่มที่รุนแรง
วันที่ 22 พฤษจิกายน พ.ศ. 2531
วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2554
วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2560
ภูเขาไฟปะทุ
ภัยต่างๆที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟที่รุนแรง
ภัยจากลาวาหลาก
ภัยจากลาฮาร์
ภัยจากทีฟราที่ปะทุขึ้นไปในอากาศ
ภัยจากแผ่นดินถล่ม
ภัยจากแก๊สที่ปะทุออกมา
การกระจายของภูเขาไฟมีพลังของโลก
สาเหตุของการเกิดภูเขาไฟปะทุ
เกิดจากการเคลื่อนที่ของแมกมาขึ้นมาตามปล่องภูเขาไฟหรือรอยแตก
เกิดจากจุดร้อนนอกรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก
เหตุการณ์ภูเขาไฟปะทุที่รุนแรง
ประเภทของภูเขาไฟปะทุ
ภูเขาไฟปะทุแบบวอลเคเนียน
ภูเขาไฟปะทุแบบสตอรมโบเลียน
ภูเขาไฟปะทุแบบพลิเนียน
ภูเขาไฟปะทุแบบฮาวายเอียน
ไฟป่า
ชนิดของไฟป่า
ไฟใต้ดิน
ไฟผิวดิน
ไฟเรือนยอด
ภัยต่างๆที่เกิดจากไฟป่า
พื้นที่ป่าไม้และสัตว์ป่าถูกเผาไหม้ทำลาย
ทำให้ดินเสื่อมสภาพ
เกิดปัญหาหมอกควัน
สาเหตุการเกิดไฟป่า
ไฟป่าที่เกิดจากธรรมชาติ
ฟ้าผ่า
กิ่งไม้เสียดสีกัน
ไฟป่าที่มีสาเหตุจากมนุษย์
เหตุการณ์ไฟป่าที่รุนแรง
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558
เดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2552
เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหว
ภัยต่างๆที่เกิดจากแผ่นดินไหว
เกิดไฟไหม้จากท่อแก๊สภายในชุมชนแตกได้รับความเสียหาย
เกิดดินเหลวหรือทรายพุ
สิ่งก่อสร้างและบ้านเรือนพังเสียหาย ทำให้ผู้นคนได้รับบาดเจ็บและสูญเสียชีวิต
เกิดสึนามิในกรณีแผ่นดินไหวใต้ทะเลที่รุนแรง
เกิดแผ่นดินแยกหรือทรุดตัวจากแรงสั่นสะเทือนที่รุนแรง
เกิดแผ่นดินถล่มจากแรงสั่นสะเทือน
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวของโลก
แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย
แนวสันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
แนววงแหวนแห่งไฟ
ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว
ขนาดของแผ่นดินไหว
ขนาดปานกลาง (5.0-5.9)
ขนาดรุนแรง (6.0-6.9)
ขนาดเบา (4.0-4.9)
ขนาดรุนแรงมาก (7.0-7.9)
ขนาดเล็ก (3.0-3.9)
ขนาดใหญ่มาก (8.0ขึ้นไป)
ขนาดเล็กมาก (0-2.9)
ความรุนแรงของแผ่นดินไหว
II
III
I
IV
V
VI
VII
VIII
IX
X
XI
XII
เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรง
เหตุการณ์แผ่นดินไหวในภูมิภาคต่างๆของโลก
เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทย
สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
การเคลื่อนตัวฉับพลันของรอยเลื่อนมีพลัง
การปะทุของภูเขาไฟ
การจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ
การจัดการภัยจากอุทกภัย
ขณะเกิดอุทกภัย
ไม่ควรเล่นน้ำหรือว่ายน้ำเล่นในขณะเกิดน้ำท่วม
ระวังสัตว์มีพิษกัดต่อย
ตัดสะพานไฟและปิดแก๊สหุงต้มให้เรียบร้อย
ไม่ควรขับขี่ยานพาหนะในช่วงกระแสน้ำหลาก
ติดตามเหตุการณ์อย่างใกล้ชิด
เตรียมพร้อมที่จะอพยพไปในที่ปลอดภัยหรือปฏิบัติตามคำแนะนำของทางราชการ
หากมีการอพยพควรอพยพคนชราคนพิการและเด็กก่อน
หลังเกิดอุทกภัย
ทำความสะอาดบ้านเรือนถนนหนทางและสิ่งชำรุดเสียหายให้กลับสู่สภาพปกติ
ภายหลังน้ำท่วมอาจมีซากสัตว์ตายให้ดำเนินการเก็บหรือฝังโดยเร็ว
ควรต้มน้ำและปรุงอาหารให้สุกและสะอาดก่อนรับประทาน
ระมัดระวังโรคระบาดหลังน้ำท่วม
ตรวจเช็คปลั๊กไฟสายไฟเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านให้มั่นใจว่าสามารถใช้งานได้ตามปกติหรือไม่
ก่อนการเกิดอุทกภัย
ควรนำเอกสารสำคัญติดตัวหรือจัดรวบรวมไว้เพื่อความสะดวกในการพกพา
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ไว้ใช้ในยามจำเป็น
ติดตามรายงานข่าวของกรมอุตุนิยมวิทยาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะฤดูฝนและฤดูมรสุมและควรปฏิบัติตามคำเตือนอย่างเคร่งครัด
เตรียมอาหารกระป๋องหรืออาหารแห้งไว้สำรองให้เพียงพอต่อการยังชีพรวมทั้งน้ำสะอาดหากเกิดน้ำท่วมเป็นระยะเวลานาน
เตรียมเครื่องเวชภัณฑ์ยารักษาโรคประจำตัวและยารักษาโรคทั่วไปเพื่อใช้กรณีฉุกเฉิน
เตรียมเสื้อผ้าผ้าห่มและเครื่องใช้จำเป็นเพื่อใช้เวลาน้ำท่วมส่วนทรัพย์สินมีค่าให้เก็บไว้ในถุงกันน้ำและเก็บไว้ในที่ปลอดภัย
สำรวจและศึกษาพื้นที่ปลอดภัยรวมถึงเส้นทางในการเดินทางไปยังพื้นที่ปลอดภัย
เคลื่อนย้ายสิ่งของเครื่องใช้สำคัญเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านให้อยู่ระดับสูงกว่าพื้นบ้านรวมทั้งอพยพสัตว์เลี้ยงไปไว้ในที่ปลอดภัย
เตรียมเรือไม้เรือยางหรือแพไม้เพื่อใช้เป็นพาหนะในกรณีที่เกิดน้ำท่วมเป็นเวลานาน
ควรเตรียมกระสอบทรายไว้ทำผนังกั้นน้ำ
การจัดการภัยจากวาตภัย
ขณะเกิดวาตภัย
กรณีอยู่นอกบ้านให้รีบหาอาคารที่มั่นคงหรือที่กำลังเข้าไปหลบหรือเข้าไปอยู่ในรถที่มีหลังคาแข็งแรงกรณีเล่นน้ำต้องรีบขึ้นจากน้ำและไปให้พ้นชายหาดหรือถ้าอยู่ในที่โล่ง
กรณีอยู่ในบ้านให้อยู่ห่างไกลจากอุปกรณ์ไฟฟ้าโลหะที่เป็นสื่อนำไฟฟ้าทุกชนิดรวมทั้งงดการใช้โทรศัพท์
หลังเกิดวาตภัย
หากมีต้นไม้ใกล้จะล้มให้รีบจัดการโค่นล้มลงเสียมิฉะนั้นจะหักโค่นล้มได้
หากมีเสาไฟฟ้าล้มสายไฟขาดอย่าเข้าใกล้หรือแตะต้องเป็นอันขาดให้ทำเครื่องหมายแสดงอันตรายและแจ้งเจ้าหน้าที่หรือช่างไฟฟ้าโดยด่วนอย่าแตะต้องโลหะที่เป็นสื่อไฟฟ้า
หากมีผู้บาดเจ็บให้รีบช่วยเหลือและนำส่งโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุดให้เร็วที่สุด
อย่าเพิ่งใช้น้ำประปาเพราะน้ำอาจไม่สะอาดเพียงพอเนื่องจากท่อแตกหรือน้ำท่วมถ้าใช้น้ำประปาขณะนั้นมาดื่มอาจจะเกิดโรคได้ให้ใช้น้ำที่สำรองไว้ก่อนเกิดวาตภัยมาดื่มแทน
ต้องรออย่างน้อย 3 ชั่วโมงเมื่อแน่ใจว่าปลอดภัยแล้ว
ก่อนการเกิดวาตภัย
ตรวจเสาและสายไฟฟ้าทั้งในและนอกบริเวณบ้านให้เรียบร้อยถ้าไม่แข็งแรงให้ยึดเหนี่ยวเสาไฟฟ้าให้มั่นคง
ปิดประตูหน้าต่างทุกบานรวมทั้งยึดประตูและหน้าต่างให้มั่นคงแข็งแรงถ้าประตูหน้าต่างไม่แข็งแรงให้ใช้ไม้ทาบตะปูตรึงปิดประตูหน้าต่างไว้จะปลอดภัยยิ่งขึ้น
ตัดกิ่งไม้หรือริดกิ่งไม้ที่อาจหักได้จากลมพายุ
ปิดกั้นช่องทางลมและช่องทางต่าง ๆ ที่ลมจะเข้าไปทำให้เกิดความเสียหาย
เตรียมวิทยุและอุปกรณ์สื่อสารชนิดใช้ถ่านแบตเตอรี่เพื่อติดตามข่าวในกรณีที่ไฟฟ้าขัดข้อง
เตรียมตะเกียงไฟฉายและไม้ขีดไฟไว้ให้พร้อมและอยู่ใกล้มือเมื่อเกิดไฟฟ้าดับจะได้หยิบใช้ได้อย่างทันท่วงทีและน้ำสะอาดพร้อมทั้งอุปกรณ์เครื่องหุงต้ม
ติดตามข่าวสารและประกาศเตือนลักษณะอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยาสม่ำเสมอ
เตรียมอาหารสำรองอาหารกระป๋องไว้สำหรับการยังชีพในระยะเวลา 2-3 วันรวมทั้งเตรียมเครื่องเวชภัณฑ์
ซักซ้อมความพร้อมของสมาชิกในครอบครัวโดยกำหนดวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดวาตภัยกำหนดจุดนัดพบที่ปลอดภัยเมื่อมีการพลัดพรากหรือเตรียมการเพื่อการอพยพเคลื่อนย้ายไปอยู่ที่ปลอดภัย
การจัดการภัยจากสึนามิ
ขณะเกิดสึนามิ
ผู้ที่เดินเรืออยู่ในทะเลเมื่อได้ยินการเตือนภัยห้ามนำเรือเข้ามาบริเวณชายฝั่งเป็นอันขาดถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนำเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝั่งเพราะคลื่นสึนามิที่อยู่ไกลชายฝั่งมาก ๆ จะมีความสูงไม่มาก
สึนามิสามารถโถมเข้าหาชายฝั่งได้หลายระลอกควรรอสักระยะหรือจนกว่าจะได้รับการยืนยันว่าปลอดภัยแล้วผู้ที่อพยพขึ้นสู่ที่สูงจึงลงมาจากที่หลบภัยหรือเรือที่ลอยลำอยู่กลางทะเลจึงกลับเข้าฝั่ง
เมื่อเห็นน้ำทะเลลดลงอย่างผิดปกติอย่าลงไปชายหาดเพราะหากเกิดคลื่นเคลื่อนตัวเข้ามาจะไม่สามารถวิ่งหลบหนีคลื่นได้ทัน
เมื่อรู้ว่ามีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นขณะที่อยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝั่งให้รีบออกจากบริเวณชายฝั่งไปยังบริเวณที่สูงหรือที่ดอนทันทีเนื่องจากสึนามิเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
นำอาหารแห้งน้ำดื่มยาเวชภัณฑ์เอกสารสำคัญและเงินสดจำนวนหนึ่งติดตัวไปด้วยจากนั้นอพยพขึ้นไปยังที่เนินสูงน้ำท่วมไม่ถึง
หลังเกิดสึนามิ
หลังจากเกิดสึนามิสิ่งที่ควรระวังคือการเกิดแผ่นดินไหวเบา ๆ ที่เรียกว่าแผ่นดินไหวตามหรืออาฟเตอร์ช็อกตามมาโดยทั่วไปจะเกิดหลังจากเกิดแผ่นดินไหวหลักประมาณครึ่งชั่วโมงถึง 2 วันและหากยังเกิดอาฟเตอร์ช็อกไม่ควรออกจากอาคารบ้านเรือนไม่ควรยืนใกล้หน้าต่างประตูเพราะกระจกอาจจะแตกทำให้ได้รับอันตรายได้
สำรวจความเสียหายของอาคารบ้านเรือนสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ หากพบให้รีบแจ้งให้ทางการทราบ ๆ
สำรวจดูตนเองและคนที่ใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่ถ้ามีควรรีบปฐมพยาบาลและนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ติดตามฟังประกาศจากทางราชการหากมีการให้อพยพออกนอกพื้นที่ให้ออกจากบริเวณดังกล่าวไปอยู่ในเขตปลอดภัยต่อไป
ก่อนการเกิดสึนามิ
เมื่อได้ฟังประกาศเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวในทะเลหรือมหาสมุทรให้เตรียมรับสถานการณ์ที่อาจจะเกิดคลื่นสึนามิตามมา
สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่งหากน้ำทะเลมีการลดระดับน้ำลงมากหลังการเกิดแผ่นดินไหวให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ให้อพยพคนในครอบครัวรวมทั้งสัตว์เลี้ยงให้อยู่ห่างจากชายฝั่งมาก ๆ และอยู่ในที่ดอนหรือที่ที่น้ำท่วมไม่ถึง
ร่วมวางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากสึนามิกับองค์กรในท้องถิ่นเช่นกำหนดสถานที่ในการอพยพแหล่งสะสมน้ำสะอาด
การจัดการภัยจากภัยแล้ง
ขณะเกิดภัยแล้ง
การใช้น้ำจากฝักบัวเพื่อชำระร่างกายจะประหยัดน้ำมากกว่าการตักอาบ
ตรวจสอบวัสดุรอบที่พักที่ติดไฟได้เพื่อป้องกันการเกิดไฟป่าและการลุกลามมาติดบ้านพัก
การใช้น้ำเพื่อการเกษตรควรใช้ช่วงเช้าและเย็นเพื่อลดอัตราการระเหยน้ำ
หลังเกิดภัยแล้ง
ติดตามสภาวะอากาศฟังคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา
คลุมโคนต้นไม้ผลด้วยฟางเปลือกถั่วเศษใบไม้ใบหญ้าโดยเริ่มคลุมในช่วงปลายฤดูฝนหรือช่วงต้นฤดูแล้งพืชผักคลุมด้วยฟางข้าวแกลบสดพลาสติกเป็นต้นนอกจากนี้ควรปลูกพืชตระกูลถั่วรอบบริเวณโคนต้นด้วย
ก่อนการเกิดภัยแล้ง
วางแผนการใช้น้ำอย่างประหยัดทั้งเพื่อการบริโภคและเพื่อการเกษตรและควรใช้น้ำในช่วงเช้าและเย็นเพื่อลดอัตราการระเหยของน้ำ
ขุดลอกคูคลองและบ่อน้ำเพื่อเพิ่มปริมาณการกักเก็บน้ำให้เพียงพอต่อครัวเรือน
เตรียมภาชนะบรรจุน้ำให้เพียงพอสำหรับการกักเก็บน้ำไว้ใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภคในฤดูแล้ง
กำจัดวัสดุเชื้อเพลิงรอบที่พักเพื่อป้องกันการเกิดไฟป่าและลุกลามมาติดกับบ้านพัก
การจัดการภัยจากภูเขาไฟปะทุ
ขณะเกิดภูเขาไฟปะทุ
ใส่หน้ากากอนามัยแว่นตาทุกชนิดเพื่อป้องกันเถ้าภูเขาไฟเตรียมเสบียงยารักษาโรคเครื่องใช้ที่จำเป็นรวมทั้งเครื่องมือสื่อสาร
ติดตามข่าวสารจากทางราชการอย่างเคร่งครัดและเมื่อทางการสั่งอพยพให้อพยพออกจากพื้นที่ทันทีโดยไปรวมตัวกันที่สถานที่หลบภัยทันที
สวมเสื้อคลุมกางเกงขายาวถุงมือเพื่อป้องกันเถ้าภูเขาไฟและความร้อนจากการระเบิด
ไม่ควรหลบอยู่ในอาคารสิ่งก่อสร้างเพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหวหรือเถ้าภูเขาไฟ
หลังเกิดภูเขาไฟปะทุ
รอฟังประกาศจากทางราชการเมื่อได้รับคำสั่งให้อพยพต้องปฏิบัติตาม
สำรวจความเสียหายพื้นที่บริเวณบ้านของตนเองซ่อมแซมส่วนที่ได้รับความเสียหายหากเสียหายมากจนซ่อมแซมไม่ได้ให้อพยพไปพักอาศัยยังศูนย์อพยพชั่วคราวที่ทางราชการจัดไว้ให้
ก่อนการเกิดภูเขาไฟปะทุ
คอยรับฟังข่าวเตือนภัยเกี่ยวกับภูเขาไฟ
สำรวจตรวจสอบสถานที่หลบภัยและเส้นทางหลบภัยเอาไว้ล่วงหน้า
เริ่มจากการหาความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากภูเขาไฟในเขตพื้นที่ของตนเอง
เตรียมอุปกรณ์ยังชีพให้พร้อม
การจัดการภัยจากแผ่นดินถล่ม
ขณะเกิดแผ่นดินถล่ม
รีบอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงไปอยู่ในบริเวณที่ปลอดภัย
แจ้งสถานการณ์ต่อผู้นำชุมชนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามแผนการช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประสบภัยแผ่นดินถล่ม
ตั้งสติแล้วรวบรวมอุปกรณ์ฉุกเฉินที่จำเป็นต้องใช้เมื่อประสบเหตุ
หลังเกิดแผ่นดินถล่ม
จัดเวรยามเดินตรวจตราดูสถานการณ์รอบ ๆ หมู่บ้านเพื่อสังเกตสิ่งผิดปกติ
ติดต่อขอรับความช่วยเหลือและฟื้นฟูจากบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศจากสถานีวิทยุกระจายเสียงท้องถิ่นอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้ำ
ก่อนการเกิดแผ่นดินถล่ม
ซ้อมแผนการอพยพแผนการช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประสบภัยแผ่นดินถล่มกับองค์กรหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
หากมีการติดตั้งอุปกรณ์สำหรับเตือนภัยไว้ในพื้นที่เสี่ยงภัยควรหมั่นตรวจสอบอุปกรณ์แจ้งเตือนภัยให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
จัดเตรียมอาหารน้ำดื่มยารักษาโรคและอุปกรณ์ฉุกเฉินที่จำเป็นต้องใช้เมื่อประสบเหตุ
หากสังเกตว่ามีความเสี่ยงในการเกิดดินถล่มควรทำการอพยพออกจากพื้นที่ที่มีความเสี่ยงไปอยู่ในบริเวณปลอดภัย
ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศจากทางราชการอย่างใกล้ชิด
การจัดการภัยจากแผ่นดินไหว
ขณะเกิดแผ่นดินไหว
ถ้าอยู่ในอาคารสูงให้หลบอยู่ใต้โต๊ะอย่าใช้ลิฟต์
ถ้าอยู่นอกอาคารให้ออกห่างจากอาคารสูงในที่ที่มีความปลอดภัยที่สุดกำแพงเสาไฟฟ้าและสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ถ้าอยู่ในรถให้หยุดรถ
ถ้าอยู่ในอาคารให้ระวังสิ่งของที่อยู่สูงตกใส่ ให้ออกห่างจากประตูหน้าต่างถ้าการสั่นไหวรุนแรงให้หลบอยู่ใต้โต๊ะใต้เตียงหรือมุมห้องอย่าวิ่งออกมานอกอาคารและกระจก
หลังเกิดแผ่นดินไหว
การซ่อมแซมบูรณะฟื้นฟูสิ่งก่อสร้างและระบบสาธารณูปโภคที่เสียหาย
การสร้างอาคารที่พักชั่วคราว
การปฏิบัติการค้นหาช่วยชีวิตการเตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือการปฐมพยาบาลสุขอนามัยอาหารน้ำและเสื้อผ้า
ก่อนการเกิดแผ่นดินไหว
ในฐานะหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สนับสนุนให้มีการออกกฎหมายควบคุมการก่อสร้างอาคารให้สามารถต้านทานแรงแผ่นดินไหว
ซักซ้อมและเตรียมตัวรับภัยแผ่นดินไหวการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบถึงภัยแผ่นดินไหววิธีปฏิบัติก่อนเกิดขณะเกิดและหลังเกิดแผ่นดินไหว
สนับสนุนให้มีการตรวจสภาพของอาคารสาธารณะโรงเรียนโรงพยาบาลหากไม่แข็งแรงให้มีการเสริมความแข็งแรง
เจ้าของบ้านหรือหัวหน้าครอบครัว
ซักซ้อมความพร้อมของสมาชิกในครอบครัวโดยกำหนดวิธีปฏิบัติตนในยามเกิดแผ่นดินไหวและกำหนดจุดนัดพบที่ปลอดภัยนอกบ้านไว้ล่วงหน้า
สอนสมาชิกในครอบครัวให้รู้จักตัดไฟปิดวาล์วน้ำและถังแก๊ส
ตรวจสภาพความปลอดภัยของบ้านและเครื่องใช้ภายในบ้านทำการยึดติดอุปกรณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
แนะนำสมาชิกในครอบครัวให้เรียนรู้วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การจัดการภัยจากไฟป่า
ขณะเกิดไฟป่า
เมื่อพบเห็นไฟป่าต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบทันทีเว้นแต่เป็นการลุกไหม้เล็กน้อยของไฟที่เกิดจากพวกหญ้าต่าง ๆ ควรช่วยกันดับไฟหากไม่มีเครื่องมือในการดับไฟอาจตัดกิ่งไม้สดไฟที่ลุกไหม้ตามบริเวณหัวไฟให้เชื้อเพลิงแตกกระจายแล้วตีขนานไปกับไฟป่าที่กำลังจะเริ่มลุกลาม
หากพบไฟป่าอย่าลังเลที่จะหนีภัยเพราะอาจจะถูกเพลิงล้อมได้
หลังเกิดไฟป่า
ค้นหาและช่วยเหลือคนสัตว์ที่หนีไฟออกมาและได้รับบาดเจ็บ
ระวังภัยจากสัตว์ที่หนีไฟป่าออกมาจะทำอันตรายแก่ชีวิตและทรัพย์สินได้
สำรวจบริเวณที่ยังมีไฟคุกรุ่นเมื่อพบแล้วจัดการดับให้สนิท
ปลูกป่าทดแทนหรือปลูกพืชคลุมดินหรือปลูกไม้โตเร็ว
ก่อนการเกิดไฟป่า
งดเว้นการเผาขยะหรือวัชพืชใกล้แนวชายป่าหรือในป่าให้กำจัดโดยการฝังกลบแทนการเผาเพื่อลดความเสี่ยงที่ทำให้ไฟลุกลามกลายเป็นไฟป่า
ไม่เก็บหาของป่าหรือล่าสัตว์ด้วยวิธีจุดไฟหรือรมควัน
สำหรับการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกให้ใช้การกลบแทนการเผาหากจำเป็นต้องจุดไฟเผาในพื้นที่การเกษตรต้องทำแนวกันไฟและควบคุมการเผาอย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้เกิดไฟป่า
การเก็บกวาดใบไม้แห้งกิ่งไม้แห้งหรือหญ้าแห้งอย่าปล่อยให้กองสุมเพราะหากเกิดไฟไหม้จะเป็นเชื้อเพลิงอย่างดีทำให้ไฟปะทุลุกลามเป็นไฟป่า
สร้างแนวกันไฟ (firebreaks) เพื่อลดความรุนแรงของไฟป่าไม่ให้เกิดจากพื้นที่ด้านหนึ่งลุกลามเข้าไปอีกพื้นที่ด้านหนึ่งกล่าวคือเป็นการป้องกันไม่ให้ไฟลุกลามออกมาจากพื้นที่ที่กำหนดซึ่งแนวกันไฟจะทำเอาไว้ก่อนล่วงหน้าที่จะเกิดไฟป่าและจะแตกต่างจากแนวดับไฟ (fire line) ซึ่งจะทำในขณะที่กำลังเกิดไฟไหม้และทำขึ้นเพื่อการดับไฟทางอ้อมหรือทำเพื่อการดับไฟด้วยไฟ