Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย ช่วงเวลานับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่5 -…
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย ช่วงเวลานับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่5 - สงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนาพระบรมราชเทวี
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
จัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา
สอนหนังสือและอาชีพให้ชาวบ้านอย่างการทอผ้า
นำช่างทอเปิดโรงทอผ้ในพระราชวังดุสิต
สมเด็จพระปิตุจนาเจ้าสุขุมาลมารศรีพระอัครราชเทวี
มีงานพระนิพนธ์ "สุขุมาลนิพนธ์"
ทรงจัดวังบางขุนพรหมเป็นแหล่งศึกษาท่สมัยสำหรับสตรีสูงศักดิ์
สร้างอาคารเรียนให้แก่วัดพิชยญาติการามวรวิหาร
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถ
ด้านการปกครอง
เป็นผู้สำเร็จราชการแทนรัชกาลที่ 5 ขณะเสด็จประพาสยุโรป (มีการประกาศใช้พระราชบัญญ้ติแก้ไขเพิ่มเติมภาษีกับการจัดการป้องกันกาฬโรค)
ด้านการศึกษา
สนับสนุนโรงเรียนหลายแห่งในกรุงเทพ เช่น โรงเรียนราชินี โรงเรียนเสาวภา
ด้านสาธารณสุขและการแพทย์
สนับสนุนการคลอดใช้วิธีแบบตะวันตก
ก่อตั้งโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์
สร้างโรงพยาบาลปัญจมาธิราชอุทิศ
ตั้งสภาอุณาโลมแดง (สภากาชาดไทย)
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
นำวัฒนธรรมสยามใหม่และเก่าปรับใช้ในล้านนาเป็นผู้เชื่อมความสัมพันธ์ของล้านนากับสยามให้เป็นเอกภาพ
เจ้าจอมมารดาแพ
แก้ขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ให้ทันสมัยส่งเสริมสาธารณสุข
พระอครรคชายาเธอพระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์
สำนักของพระองค์เป็นแหล่งสอนวิชาแม่เรือน
ปลูกฝังศิลปวัฒนธรรมดนตรีไทย
อุทิศพระราชทรัพย์สร้างโรงเลี้ยงเด็กกำพร้า
เป็นราชเลขารวบรวมผลงานพระราชนิพนธ์เรื่อง "ไกลบ้าน" ของรัชากาลที่5
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
ด้านประกอบอาชีพและกิจกรรมทางสังคม
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล
มีงานนิพนธ์ทางด้านการท่องเที่ยวขนบธรรมเนียมเหตุการณ์บ้านเมืองทรงก่อตั้งองค์กรพระพุทธศาสนิกชนสัมพันธ์แห่งโลก
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
สนับสนุนการพัฒนาสถานภาพของสตรีในพระราชดำรจัดพิมพ์ตำราแม่ครัวป่าก์
หม่อมศรีพรหมมา กฤดากร
เป็นคู่คิดที่ดีของสวามีในการนำเทคโนโลยีและวิถีตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในฟาร์ม
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
เป็นตัวแทนของสตรีในยุคหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงปรับตัวสู่สมาคมทั้งระดับสูงอังกฤษ
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฎหมาย
ดำเนินการเรียกร้องสิทธิสตรีและยระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษ
สตรีจากราชสกุลกุญชร
มีบทบาทด้านการศึกษาโดยเฉพาะภาษาศาสตร์
หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์
ได้ประพันธ์เพลงมากกว่า 120 เพลง เช่น เพลงบัวขาว
หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์
ผลงานนวนิยายสะท้อนสภาพสังคมไทย (นามปากกาดอกไม้สด)
ด้านการแพทย์สังคมสงเคราะห์
หม่อมเจ้ามัณฑพารพกมลศาน์
ด้านการแพทย์
บิหารพยาบาลสถานการพยาบาล
จัดระเบียบแบบแผนการรักษาปรับมาตรฐานศึกษาให้ทันสมัย
แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล
ด้านการแพทย์
บำบัดรักษาป้องกันโรคแก่ผู้ที่ขายบริการ
ด้านสังคมสงเคราะห์
ช่วยเหลือสตรีที่มีปัญหาในครอบครัว
ก่อตั้งสถานรับเลี้ยงที่มีปัญหาในครอบครัว (มาตาภาวสถาน/พีระยานุเคราะห์มูลนิธิ)
ท่านหญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ด้านสังคมสงเคราะห์
ก่อตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
จัดตั้งองค์การส่งเสริมการสมรส (บ้านราชวิถี) โรงเรียนพิบูลประาสรรค์
ก่อจัดตั้งโรเรียนชาติสงเคราะห์
จัดตั้งโรงพยาบาลสงเคราะห์หญิงมีครรภ์และบุตร
ด้านการเมือง
ยกสถานภาพของสตรี (จัดตั้งสหพันธ์กรรมกรหญิง/ก่อตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง)
ก่อตั้งโรงเรียนสตรีนครนายก
น.ส.พัสวีภัค ปัญญาหลวง เลขที่ 6 ชั้น ม.4/4