Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย ช่วงเวลานับตั้งแต่มีการบันทึกถึงรัตนโกสินทร…
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย ช่วงเวลานับตั้งแต่มีการบันทึกถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางสังคม
ด้านวรรณกรรม
เจ้าฟ้ากุญฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
ทรงนิพนธ์บทละครเรื่องดาหลัง และอิเหนาโดยนำโครงเรื่องจากชวาดัดแปลงเป็นกลอนและบทละครไทย
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุกรมหลวงนรินทรเทวี
ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ตั้งแต่อยุธยาเสียกรุงให้พม่าจึงเป็นเอกสารสำคัญ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล
ทรงนิพนธ์กุมานคำฉันท์ หนังสือเล่มนี้มีตัวอย่างว่าสตรีไทยโดยเฉพาะราชสกุลมีการศึกษาที่ดีตั้งแตโบราณ
คุณพุ่ม (บุษบาท่าเรือจ้าง) และคุณธรรม
มีชื่อเสียงว่าเป็นกวีหญิงผลงาน เช่น เพลงงานบวงทรวงของสระน้ำของคุณนุ่นและอุณรุทร้อยเรื่องพระมะเปลแถไถ ของ คุณสุวรรณ เป็นต้น
ด้านศาสนา
สตรีไทยมีความเลื่อมใส ศรัทธาในพระพุทธศาสสนาเป็นอย่างยิ่งพร้อมที่จะสละพระราชทรัพย์เพื่อที่จะสร้างปฏิสังขรณ์ และทำนุบำรุงพระสงฆ์เป็นประจำ
ด้านศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงเป็นกำลังสำคัญในการจัดทำตำราโบราณราชประเพณีเรียบเรียงใหม่ในรัชกาลที่ 1
พระองค์เจ้าบุตร (พระเจ้าบรมมาวงเธอกรมหลวงเสรฐดา)
ทรงรอบรู้มีความเชี่ยวชาญแตกฉานวิชาการเช่น ตำนาน โครง กลอน วิชาเลข ดาราศาสตร์ เป็นอาจารย์ของพระโอรสและธิดาของรัชกาลที่ 4
บทบาททางการเมือง
การเสริมสร้างพันธไมตรี
การเสริมสร้างพันธไมตรี
สร้างความเป็นชาติทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร และการปูบำเหน็จแก่ผู็คนที่มีความดี
การแสวงหาพันธมิตร
ส่งพระญาติไปอภิเษกสมรส
เมื่อตกอยู่ในอำนาจผู้อื่น
ถวายพระราชธิดาเพื่อแสดงความจงรักภักดี
เมื่อมีการเปลี่นผู้นำ
สมรสระหว่างผู้นำคนใหม่และสตรีในราชวงศ์เก่าเพื่อให้เกิดการยอมรับอำนาจ
ด้านการทำสงคราม
สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนา
มีบทบาทในการรบเพื่อปกป้องบ้านเมืองและขยายแผ่อำนาจ
สมเด็จพระสุริโยทัย
เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิในขณะร่วมรบกับพระสวามีในศึกพม่า ทรงไสช้างกันถูกพระเจ้าแปรฟันด้วยพระแสงของ้าวสิ้นพระชนม์
เจ้าศรีอโนชา
เป็นพระขนิษฐาพระเจ้ากาวิละแห่งนครลำปาง เหตุการณ์กบฏพระยาสรรค์ทรงรวบรวมบริวารปราบกบฏ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
คุณหญิงจันและคุณมุกน้องสาวได้นำประชาชนต่อต้านพม่าในสงครามเก้าทัพได้สำเร็จ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
คุณหญิงโมได้วางแผนและต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์ได้แต่งตั้งเป็นท้าวสุรนารี
ด้านการปกครอง
พระนางจามเทวี
ปฐมกษัตริย์ของเมืองลำพูนธิดาของกษัตริย์ทวารวดีได้รับการเชื้อเชิญให้มาปกรองเมืองและขยายอำนาจไปตั้งเมืองคู๋แฝด คือเมืองลำปาง
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
ปกครองกรุวสุโขทัยระหว่างที่พระมหาธรรมราชาที่ 1 ไปปกครองเมืองสองแคว
พระมหาเทวีล้านนา
มหาเทวีโลกจุลกะเเทวี
ผลักดันให้พระโอรสขึ้นเป็นกษัตริย์
พระมหาเทวีชนนีของพระเจ้าติโลกราช
รวมการเมืองกับโอรสคุมกองทัพเมืองแพร่
พระมหาเทวีจิรประภา
ได้รับการเชิญขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ นำพาบ้านเมืองรอด
พระมหาเทวีสุทธืเทวี
ถูกสถาปนาปกครองเมืองเชียงใหม่ ในช่วงที่ตกเป็นประเทศราช
แม่อยู๋หัวศรีสุดาจันทร์
ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการปกครองกรุงศรีอยุธยาร่วมกับขุนวรวงศาธิราช
กรมหลวงโยธาเทพ (เจ้าฟ้าศรีสุพรรณ)
เป็นพระราชธิดาสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงมีอิทธิพลอำนาจสิทธิ์ขาดในการปกครองภายใน
น.ส.พัสวีภัค ปัญญาหลวง เลขที่ 6 ชั้นม. 4/4