Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 วิธีการและเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล, นางสาวบุษยา หลำริ้ว…
บทที่ 4 วิธีการและเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภทและการเลือกใช้เครื่องมือ
ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือในการดำเนินการวิจัยหรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเลือกใช้เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
ข้อดีและข้อจำกัดของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล และวิธีการรวบรวมข้อมูล
ระยะเวลาและงบประมาณที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วัตถุประสงค์และตัวแปรในการวิจัย
แบบสอบถาม
รูปแบบของคำถามในแบบสอบถาม
คำถามปลายปิด
แบบเลือกตอบ
ให้เลือกตอบได้มากกว่าหนึ่งคำตอบ
ให้เลือกตอบเพียงคำตอบเดียว
ให้เรียงลำดับความสำคัญจากข้อความที่กำหนด
แบบมาตรประมาณค่า
มาตรประมาณค่าแบบลิเคิร์ท
มาตรประมาณค่าแบบออสกูดหรือแบบนัยจำแนก
มาตรประมาณค่าแบบบรรยาย
คำถามปลายเปิด
ตอบแบบเสรี
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม
การวางแผนการสร้างแบบสอบถาม
กำหนดประเภทคำถามให้เหมาะสมกับเนื้อหา
ศึกษาทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัย
นิยามเชิงปฏิบัติการ
การนิยามตัวแปร
การนิยามเชิงทฤษฎี
การนิยามเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบ
ระบุจุดมุ่งหมายในการใช้แบบสอบถาม
การเขียนข้อคำถามและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
สร้างข้อคำถามตามรูปแบบและนิยามที่ได้กำหนดไว้
จัดฉบับแบบสอบถาม
สถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
คำชี้แจงในการตอบ
ตรวจสอบคุณภาพก่อนนำไปทดลองใช้
นำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย
ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามรายข้อ
จัดทำแบบสอบถามฉบับจริงเพื่อนำไปใช้เก็บข้อมูล
ทดลองใช้เครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
ขั้นตอนการสร้างแบบสัมภาษณ์
การวางแผนการสร้างแบบสัมภาษณ์
ศึกษาทฤษฎ๊แนวคิด และงานวิจัย
ระบุจุดมุ่งหมายในการใช้แบบสัมภาษณ์ให้ชัดเจน
กำหนดประเภทของคำถาม
การสร้างข้อคำถามและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
สร้างข้อคำถามหรือหัวข้อของคำถามหรือแนวทางในการตั้งคำถาม
จัดทำแบบสัมภาษณ์
ตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์ก่อนนำไปทดลองใช้
ทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
ตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์
จัดทำแบบสัมภาษณ์ฉบับจริง
นำแบบสัมภาษณ์ไปทดลองกับกลุ่มเป้าหมาย
ประเภทของแบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
แบบสรุปข้อมูลจากเอกสารและการสนทนากลุ่ม
แบบบันทึกหรือวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร
ข้อจำกัดแบบบันทึกหรือแบบวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร
ได้ข้อมูลที่ไม่เป็นปัจจุบัน
ได้ข้อมูลที่ขาดความตรงหากผู้วิจัยไม่ชำนาญในการการวิเคราะห์เอกสาร
ผู้วิจัยต้องใช้ความสามารถในการวิเคราะห์หาข้อเท็จจริงที่แฝงในเอกสาร
ข้อดีแบบบันทึกหรือแบบวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร
เสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินการน้อย
ไม่ต้องใช้เวลาในการประสานความร่วมมือกับผุ้ให้ข้อมูล
แบบรายการประเด็นการสนทนากลุ่ม
ข้อดีของแบบรายการประเด็นการสนทนากลุ่ม
เหมาะที่จะใช้กับการประเมินที่ต้องหาซื้อสรุปความคิดเห็นโดยให้ผู้รู้ได้ร่วมกันสรุป
ประหยัดเวลาและงบประมาณกว่าในการสัมภาษณ์ที่ละคน
ข้อจำกัดของแบบรายการประเด็นการสนทนากลุ่ม
สำหรับประเด็นการสนทนากลุ่มที่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมจะไม่ได้รับการเปิดเผย
หากผู้ดำเนินการและผู้จดบันทึกข้อมูลไม่มีความชำนาญอาจสรุปได้ประเด็นที่ไม่ตรงกับสิ่งที่ต้องการประเมิน
แบบทดสอบ
ประเภทของแบบทดสอบ
แบบทดสอบเลือกตอบ
แบบทดสอบจับคู่
แบบทดสอบถูกผิด
แบบทดสอบหลายตัวเลือก
แบบทดสอบเขียนตอบ
แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบความเรียง
แบบไม่จำกัดคำตอบ
แบบจำกัดคำตอบ
แบบทดสอบแบบเติมคำ
ขั้นตอนการสร้างแบบสัมภาษณ์
การเขียนข้อสอบและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
จัดเรียงข้อสอบตามประเภทของข้อสอบ
รู้เนื้อหาหรือคุณลักษณะที่จะวัดเป็นอย่างดี
ตรวจสอบความถูกต้องก่อนส่งข้อสอบให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง
การทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
คัดเลือกข้อสอบที่มีคุณภาพตามเกณฑ์
วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ
ทดลองใช้กลับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างที่จะนำไปใช้จริง
การวางแผนการสร้างข้อสอบ
กำหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบทดสอบ
ระบุการนำผลไปใช้
ระบุกลุ่มเป้าหมายที่จะนำแบบทดสอบไปใช้
ระบุสมรรถนะที่จะทดสอบ
วิเคราะห์เนื้อหาและพฤติกรรมการวัด
กำหนดประเภทของข้อสอบ
จัดทำแผนผังการสร้างข้อสอบ
วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการเลือกใช้
วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างหรือการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ
การสังเกต
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
การสนทนากลุ่ม
การสอบถามหรือการสำรวจ
การวิเคราะห์เอกสาร
การทดสอบ
สังคมมิติ
การเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
จำนวนตัวอย่างที่ใช้ในการทำวิจัย
ลักษณะของข้อมูลที่ต้องใช้ในการวิจัย
สิ่งที่วัดหรือลักษณะที่มุ่งวัด
ช่วงเวลาในการทำวิจัย
กลุ่มที่ต้องการเก็บข้อมูลหรือกลุ่มผู้ถูกวัด
ประเด็นวิจัยหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย
แบบสังเกต
รูปแบบของแบบสังเกต
แบบมาตรประมาณค่า
แบบให้คะแนน
เกณฑ์รวม
เกณฑ์ย่อย
แบบตรวจสอบรายการ
แบบบันทึกพฤติกรรม
รายละเอียดของผู้สังเกต
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การตีความหมาย
ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต
สร้างข้อความหรือรายการและตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
สร้างข้อความหรือรายการของแบบสังเกต
จัดทำแบบสังเกต
ตรวจสอบแบบสังเกตก่อนนำไปใช้
ทดลอใช้แบบสังเกตและตรวจสอบคุณภาพของแบบสังเกต
ปรับปรุงแก้ไขแบบสังเกต
จัดทำแบบสังเกตฉบับสมบูรณ์
นำแบบสังเกตไปทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย
การวางแผนการสร้างแบบสังเกต
กำหนดประเภทของรายการ
ศึกษาทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัย
วิเคราะห์องค์ประกอบ
กำหนดลักษณะที่ได้จากการสังเกต
จัดทำตารางโครงสร้างแบบสังเกต
ระบุจุดมุ่งหมายในการใช้แบบสังเกต
นางสาวบุษยา หลำริ้ว รหัสนักศึกษา 611120112 โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย