Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์
ด้านการแพทย์
หมอเฮาส์
เป็นมิชชันนารีชาวอเมนิกัน
เป็นผู้รักษาคนไข้ในช่วงที่เกิดอหิวาตกโรค
เป็นแพทย์คนแรกที่นำวิธีการผ่าตัดโดยใช้ยาสลบ
ชอร์ช บี.แมคฟาร์แลนด์
เป็นบุตรของมิชชันนารีชาวอเมริกัน
เป็นผู้สอนนักเรียนแพทย์ฝึกหัดชาวไทยและเปิดคลีนิครักษาโรคฟัน
ได้รับบรรดาศักดิ์จากรัชกาลที่ 6 ว่าพระอาจวิทยาคม
หมอรัดเลย์
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่นแรก ๆ ที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาสมัยรัชกาลที่3
เป็นผู้นำความรู็การแพทย์ตะวันตกเข้ามาในไทย
รักษาด้วยวิธีการผ่าตัด เผยแพร่การปลูกฝีและฉีดวัคซีนครั้งแรก
ด้านการศึกษา
บาทหลวงเอมิล ออกุสท์ กอลมเบิร์ต
เป็นชาวฝรั่งเศส เจ้าอาวาสอัสสัมชัญ
ได้ก่อตั้งโรงเรียนประจำวัด (อัสสัมชัญ) หรือโรงเรียนอัสสัมชัญ
เจษฎาจารย์ ฟ.ฮีแลร์ หรือ ฟรังซัว ตูเวอเนต์
เป็นชาวฝรั่งเศสในคณะภราดาเซนต์คาเบรียลเผยแพร่ศาสนาในไทย
เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษาในประเทศไทยหลายแห่ง
นางแฮร์เรียต เฮาส์
ได้เปิดโรงเรียนสำหรับเด็กหญิงแห่งแรกขแงไทย ชื่อโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
ดร.ซามูเอล อาร์.เฮาส์ และศาสตราจารย์สตีเวน แมตตูน
ได้เปิดฌรงเรียนสำหรับเด็กชาย เป็นโรงเรียนชายแห่แรกของไทยต่อมาเป็นโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน
ด้านศิลปกรรม
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
เป็นศิลปินชาวอิตาลี ชื่อ คอร์ลาโด เฟโรชี
เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร
เป็นผู็ออกแบบปั้นและควบคุมการหล่อพระราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์ที่สำคัญ
ออกแบบพระศรีศากยะทศพลญาณพระพุทธรูปปางลีลา
นายริโกลี
เป็นจิตรกรชาวอิตาลี
เป็นผู้วาดภาพจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคมและภาพจิตรกรรมพระอุโบสถวัด ราชาธิวาสราชวรมหาวิหาร
นายคาร์ล ดอริง
เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน นายช่างประจำกรมรถไฟ
เป็นผู้ออกแบบวังวรดิดิศ ตำแหน่งบางขุนพรมและพระรามราชนิเวศน์
ด้านประวัติศาสตร์
ฟาน ฟลีต หรือวัน วลิต
เป็นพ่อค้าชาวฮอลันดา
ค้าขายสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
บันทึกหลักฐานเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองไทยสมัยอยุธยา
พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
จดหมายเหตุฟาน ฟลีต
เฮนรี่ เบอร์นีย์
เป็นทูตชาวอังกฤษ
เดินทางเจรจาสมัยรัชกาลที่ 3
ได้ทำบันทึกรายงานเจรจาทางการทูตเกี่ยวกับประเทศไทยเสนออังกฤษ
เอกสารเฮนรี เบอร์นีย์
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์
เป็นบาทหลวงชาวฝรั่งเศส
เข้ามาเเผยแผ่ศาสนาสมัยรัชกาลที่ 3
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับไทยในหนังเรื่อง เล่าเรื่องกรุงสยาม
นิโกลาส์ แชรแวส
เป็นทูตชาวฝรั่งเศส
เจริญสัมพันธไมตรีสมัยพระนารายณ์
เขียนบันทึกเรื่องประวัติศาสตร์ธรรมชาติ การเมืองอาณาจักรสยาม
เซอร์จอห์น เบาว์ริง
เป็นเอกอัครราชทูตชาวอังกฤษ
เจริญสัมพันธไมตรีสมัยรัชกาลที่ 4
เขียนหนังสือเรื่องราชอาณาจักและราษฎรสยามเป็นข้อมูลประเทศไทยในอดีต
ซีมง เดอ ลาลูแบร์
เป็นทูตชาวฝรั่งเศส
เจริญสัมพันธไมตรีสมัยพระนารายณ์
เขียนบันทึกเกี่ยวกับสภาพสังคมเศรษฐกิจ วิถีชีวิตและราชสำนักไทย
จดหมายลาลูแบร์
น.ส.พัสวีภัค ปัญญาหลวง เลขที่ 6 ชั้น ม.4/4