Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน, image, image - Coggle…
การสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน
วัยเตาะแตะ (Toddlerhood )อายุตั้งแต่ 1-3 ปี
ธรรมชาติของเด็กวัยเตาะแตะ
ชอบปฏิเสธ ชอบพูด “ไม่ ๆ”“วัยช่างปฏิเสธ” (Negativistic period)
เด็กมีความเป็นตัวเองมากขึ้น
ทดลองฝืนไม่ยอมทำตาม
ผู้ปกครอง เกิดพฤติกรรมตรงกันข้ามและดูดื้อ
เข้าใจภาษามากขึ้น
การเจริญเติบโตของศีรษะของเด็กวัยเตาะแตะดูเล็กลง
รูปร่างจะเปลี่ยนจากอ้วนกลมเป็นยาว
ขึ้น เนื่องจากกระดูกแขนขายาวขึ้น
การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
การป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคด้วยวัคซีน ให้ได้รับวัคซีนตามกำหนด
การส่งเสริมดูแลรักษาสุขภาพฟัน
พยาบาลควรแนะนำให้ผู้ดูแลแปรงฟันให้เด็กอย่างถูกวิธีในช่วงแรก
ผู้ปกครองทำความสะอาดฟันให้เด็ก
การส่งเสริมด้านโภชนาการ
ต้องการพลังงาน 100 กิโลแคลอรี/น้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม/วัน
เด็กที่ยังกินนมแม่ก็ให้กินต่อไปได้ เพราะจะช่วยเสริมให้เด็กได้โปรตีนคุณภาพสมบรูณ์
ต้องการโปรตีนวันละ 1.8 กรัมต่อน้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม
ไข่ อาจจัดให้ได้วันละ 1 ฟอง หรือสัปดาห์ 5-7 ฟอง
ข้าวสวย ให้ในปริมาณ ½ ถ้วยตวง
ผลไม้ผลไม้ที่จัดให้เด็กต้องไม่มีรสเปรี้ยว หรือหวานเกินไป ควรเป็นผลไม้ที่มีเนื้อนิ่ม เคี้ยว กลืนสะดวก
น้ำมันที่ใช้ควรเป็นน้ำมันพืชวันละ 1-2 ช้อนชา
การสร้างเสริมสุขลักษณะการนอนที่ดี
จัดเวลานอน เวลาตื่นให้เป็นกิจวัตรสำหรับเด็ก
ไม่ทำกิจกรรมอื่น ๆ ในห้องนอน
อย่าบ่น หรือวุ่นวายกับพฤติกรรมการไม่นอนของเด็กมากเกินไป
การปรับปรุงพฤติกรรมปัสสาวะรดที่นอน
ให้เด็กถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน
ต้องปลุกให้เด็กตื่นเต็มที่ก่อนจะพาเข้าห้องน้ำ
ถ้าลูกหยุดปัสสาวะรดที่นอนได้เกิน 6 เดือน แล้วกลับมาปัสสาวะรดที่นอนอีกครั้ง แสดงว่าเด็กอาจมภาวะความวิตกกังวลอะไรบ้างอย่าง
การส่งเสริมการหัดเดินด้วยการเลือกรองเท้าที่เหมาะสม
อายุประมาณ12-15 เดือน ควรให้เด็กได้เดินด้วยเท้าเปล่าก่อน เพราะจะทรงตัวได้ง่าย
เลือกหัวรองเท้าแบบป้าน ช่วยให้นิ้วเท้าไม่ถูกบีบ
พื้นรองเท้า ควรจะเรียบกว้างมีความยืดหยุ่นดี น้ำหนักเบา และไม่ลื่น
สายคาด ควรเป็นแบบที่สามารถเลื่อนเข้าเลื่อนออกให้กระชับพอดีกับขนาดเท้าได้ง่าย
ไม่กดรัดนิ้มเท้าควรหลีกเลี่ยงรองเท้าที่เป็นพลาสติกเพราะจะไม่ปรับรูปร่างให้เข้ากับเท้า
ควรสวมรองเท้าแล้วลองเดิน
การป้องกันอุบัติเหตุ
ไม่ปล่อยไว้คนเดียวไม่ปล่อยให้เด็ก
เล่นใกล้สิ่งที่เป็นอันตราย
เด็กอายุ 18 เดือนสามารถสอนให้หลีกเลี่ยงแหล่งน้ำ
สอนให้เด็กหลีกเลี่ยงการปีนป่ายที่
สูงการเล่นบนบันได
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
การปรับพฤติกรรมเด็กเจ้าอารมณ์
เริ่มแก้ที่ผู้ใหญ่คุณพ่อคุณแม่ต้องสังเกตพฤติกรรมของตัวเองและคนรอบข้างเด็กว่าเป็นคนโมโหร้ายหรือไม่ หากพบว่าใช่ ต้องพยายามหาทางแก้ไข
ฝึกให้ลูกควบคุมอารมณ์
คุณพ่อคุณแม่อาจสอนให้ลูกใจเย็น ๆ สูดลมหายใจเข้าลึก ๆ หรือนับ 1–10 ในใจ
ให้กำลังใจเมื่อลูกสามารถควบคุมอารมณ์ของตัวเองได้ดีอาจเป็นการชมเชยเพื่อให้เขา
รู้สึกภาคภูมิใจ และเมื่อเขาภาคภูมิใจก็จะตระหนักถึงคุณค่าในตัวของเขาเองได้
มองหาข้อดีของคนที่ทำให้เขาโมโหสอนพวกเขาว่าคนเราล้วนมีทั้งข้อดีและข้อเสียด้วยกันทั้งนั้น
คัดกรองสื่อต่าง ๆคุณพ่อคุณแม่จึงต้อง
คอยคัดกรองสื่อ หรืออาจอธิบายให้เขาเข้าใจว่าพฤติกรรมแบบไหนดีและไม่ดี
อย่าตามใจลูกทุกเรื่องการที่คุณพ่อคุณแม่ตามใจลูกมากเกินไปก็อาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้เด็กกลายเป็นคนขี้โมโหได้
ให้ลูกออกกำลังกายเพื่อให้ร่างกายสดชื่น แจ่มใส และผ่อน
คลาย
การสร้างเสริมวุฒิภาวะทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ)
การให้ความรัก สิ่งใดที่เด็กสนใจ พ่อแม่ควรให้ความสำคัญ แสดงความเข้าใจ
การใช้โอกาสให้เกิดประโยชน์ ต้องใช้ความใกล้ชิดสนิทสนมในการสอนให้เด็กเรียนรู้เรื่องอารมณ์
การเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการสร้างความรู้สึกและอารมณ์ของเด็กด้วยความเอาใจใส่และเอื้ออาทร
พยายามสังเกตความรู้สึกเด็กจากพฤติกรรม
การไม่ปิดกั้นความรู้สึก ฝึกให้เด็กบอกความรู้สึกของตนเองอย่างเหมาะสม
เรื่องธรรมดาที่ต้องพอดี เป็นการบอกล่าวของพ่อแม่ต่อเด็กเมื่อคราวที่เด็กเกิดอารมณ์ ทั้งนี้เด็ก
สามารถเป็นผู้แยกแยะออกแล้วว่าตอนนี้อยุ่ในอารมณ์ความรู้สึกแบบใด
การส่งเสริมสุขภาพจิตทั่วไป
การพูดจาด้วยท่าทีสุภาพ น้ำเสียงนุ่มนวล
หยอกล้อพุดคุยให้เด็กได้หัวเราะ
การสัมผัส กอดจูบ
แสดงความรัก ความเมตตา
ให้กำลังใจในการหัดทำสิ่งต่าง ๆ ชมเชยเมื่อเด็กสามารถทำได้สำเร็จ
การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
การพัฒนาการเล่น
เด็กวัย 1-2 ปีวัยนี้เหมาะกับของเล่นที่เสริมพัฒนาการทางกล้ามเนื้อ การทรงตัว และ
ด้านภาษา ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อ การทรงตัว
เด็กวัย 2-3 ปีเพิ่มทักษะการเรียนรู้เรื่องรอบตัว เพื่อเตรียมพร้อมก่อนเข้าโรงเรียน
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อต่าง ๆ ให้สัมพันธ์และคล่องแคล่วมากขึ้น
ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา เช่น นิทานตามวัยที่มีเนื้อเรื่องรูปภาพที่น่าสนใจและมีสีสัน
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมทั่วไป
สอนให้ลูกมีสัมมาคารวะ รู้จักทำความเคารพ
สอนมารยาทในการรับประทาน
อาหารแก่ลูก
สอนให้ลูก
รู้จักแบ่งปันของให้ผู้อื่น เมตตาสัตว์เลี้ยง
เปิดโอกาสให้ลูกได้ฝึกทำงานบ้าน ส่งเสริมให้ลูกเล่นกีฬา รู้จักกติกา
เปิดโอกาสให้ลูกได้เล่นกับเพื่อนวัยเดียวกันพาลูกไปวัดเพื่อร่วมพิธีทางศาสนา
สอนวินัยขั้นพื้นฐานให้แก่ลูก
วัยก่อนเรียน (Pre-school Age)
อายุ 3-6 ปี
ธรรมชาติของวัยก่อนเรียน
อยากเป็นอิสระ ต้องการทำ
อะไรด้วยตนเอง
มักปฏิเสธคำสั่งของพ่อแม่ ชอบเถียง อยากแสดงความคิดเห็น
เป็นวัยชอบสำรวจ
เด็กวัยนี้มีทั้ง
ความน่ารักน่าชัง ได้ชื่อว่าเป็นวัย “เจ้าปัญหา”
รูปร่างจะเปลี่ยนแปลงจากลักษณะอ้วนเตี้ยเป็นผอมสูง
ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อได้ดีขึ้น
ช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
การป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคด้วยวัคซีน ให้ได้รับวัคซีนตามกำหนด
การส่งเสริมดูแลรักษาสุขภาพฟัน
สามารถขยับมือไปมาเพื่อแปรงฟันเองได้แต่
เขายัง ไม่สามารถแปรงได้สะอาดหรือไม่ทั่วถึงพอ
แปรงฟันด้วยยาสีฟันเด็กที่ผสมฟลูออไรด์บีบเท่ากับเมล็ดถั่วเขียวอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง โดยให้
เด็กแปรงฟันเองก่อน และผู้ใหญ่ต้องแปรงฟันซ้ำเพื่อให้มั่นใจในความสะอาดนานอย่างน้อย 2 นาที
สนับสนุนให้เด็กเลิกดูดนมจากขวดและควรให้เด็กกินของหวานในปริมาณน้อยเพื่อช่วยลด การเกิดฟันผุ
พาเด็กไปพบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน
เด็กอนุบาลยัง
จำเป็นต้องรับฟลูออไรด์กินเสริมไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 4 วันเพื่อป้องกันฟันผุ
การส่งเสริมด้านโภชนาการ
ต้องการพลังงาน 85 กิโลแคลอรี/น้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม/วัน
ควรให้ได้รับอาหารที่มีโปรตีน
อย่างเพียงพอ คือ วันละ 1.5 กรัมต่อน้ำหนักร่างกาย 1กิโลกรัม
เนื้อสัตว์ควรใช้เนื้อสัตว์ที่หลากหลาย และจัดให้มีเครื่องในสัตว์
ไข่ ควรให้ได้รับวันละ 1 ฟอง จะเป็นไข่เป็ด หรือไข่ไก่ก็ได้
นม เด็กวัยก่อนเรียนช่วงอายุ 4-6 ปี ควรได้รับนมสดวันละ 2-3 ถ้วยตวง
ข้าวสวย เด็กวัยนี้กินข้าวได้เอง และกินได้มากขึ้นจึงควรให้ได้รับเพิ่มขึ้นเป็น วันละ 2 ½ - 3 ถ้วยตวง
ผักสด เด็กวัยนี้บริโภคผักได้มากชนิดขึ้น รวมถึงผักที่มีกลิ่นแรง
ผลไม้เด็กวัยนี้ควรได้รับผลไม้ทุกวันเพื่อให้ได้รับวิตามินซี
ไขมัน หรือน้ำมัน เพื่อให้ได้รับพลังงาน กรดไขมันที่จำเป็น และช่วยละลายวิตามินซี ดี อี และ เค ควร
ได้รับวันละ 2-3 ช้อนโต๊ะ
การสร้างเสริมสุขลักษณะการนอนที่ดี
จัดเวลานอน เวลาตื่นให้เป็นกิจวัตรสำหรับเด็ก
ไม่ทำกิจกรรมอื่น ๆ ในห้องนอน
อย่าบ่น หรือวุ่นวายกับพฤติกรรมการไม่นอนของเด็กมากเกินไป
การปรับปรุงพฤติกรรมปัสสาวะรดที่นอน
พ่อแม่จะต้องช่วยพาลูก
ไปขับถ่ายให้ถูกที่ ฝึกให้มีการกลั้นปัสสาวะบ้าง
การให้
เด็กถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน
ต้องปลุกให้เด็กตื่นเต็มที่ก่อนจะพาเข้าห้องน้ำ
ถ้าลูกหยุดปัสสาวะรดที่นอนได้เกิน 6 เดือน แล้วกลับมาปัสสาวะรดที่นอนอีกครั้ง แสดงว่าเด็กอาจมี
ภาวะความวิตกกังวลอะไรบ้างอย่าง ควรหาสาเหตุและแก้ไขที่สาเหตุนั้น
การป้องกันอุบัติเหตุ
เก็บของ
ให้เรียบร้อย ควรให้เด็กอยู่ในสายตาตลอดเวลาดูแลใกล้ชิด
ไม่ปล่อยให้
ปีนต้นไม้หรือสิ่งอื่นที่สูงเกินไป
ควรสอนให้เด็กรู้กฎจราจรง่ายๆ
ให้การดูแลเด็ก
ในวัย 3-6 ปีในระยะมองเห็นและเข้าถึงได้
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
การปรับพฤติกรรมเด็กเจ้าอารมณ์
เริ่มแก้ที่ผู้ใหญ่คุณพ่อคุณแม่ต้องสังเกตพฤติกรรมของตัวเองและคนรอบข้างเด็กว่าเป็นคนโมโหร้ายหรือไม่ หากพบว่าใช่ ต้องพยายามหาทางแก้ไข
ฝึกให้ลูกควบคุมอารมณ์
คุณพ่อคุณแม่อาจสอนให้ลูกใจเย็น ๆ สูดลมหายใจเข้าลึก ๆ หรือนับ 1–10 ในใจ
ให้กำลังใจเมื่อลูกสามารถควบคุมอารมณ์ของตัวเองได้ดีอาจเป็นการชมเชยเพื่อให้เขา
รู้สึกภาคภูมิใจ และเมื่อเขาภาคภูมิใจก็จะตระหนักถึงคุณค่าในตัวของเขาเองได้
มองหาข้อดีของคนที่ทำให้เขาโมโหสอนพวกเขาว่าคนเราล้วนมีทั้งข้อดีและข้อเสียด้วยกันทั้งนั้น
คัดกรองสื่อต่าง ๆคุณพ่อคุณแม่จึงต้อง
คอยคัดกรองสื่อ หรืออาจอธิบายให้เขาเข้าใจว่าพฤติกรรมแบบไหนดีและไม่ดี
อย่าตามใจลูกทุกเรื่องการที่คุณพ่อคุณแม่ตามใจลูกมากเกินไปก็อาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้เด็กกลายเป็นคนขี้โมโหได้
ให้ลูกออกกำลังกายเพื่อให้ร่างกายสดชื่น แจ่มใส และผ่อน
คลาย
การสร้างเสริมวุฒิภาวะทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ)
การให้ความรัก สิ่งใดที่เด็กสนใจ พ่อแม่ควรให้ความสำคัญ แสดงความเข้าใจ
การใช้โอกาสให้เกิดประโยชน์ ต้องใช้ความใกล้ชิดสนิทสนมในการสอนให้เด็กเรียนรู้เรื่องอารมณ์
การเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการสร้างความรู้สึกและอารมณ์ของเด็กด้วยความเอาใจใส่และเอื้ออาทร
พยายามสังเกตความรู้สึกเด็กจากพฤติกรรม
การไม่ปิดกั้นความรู้สึก ฝึกให้เด็กบอกความรู้สึกของตนเองอย่างเหมาะสม
เรื่องธรรมดาที่ต้องพอดี เป็นการบอกล่าวของพ่อแม่ต่อเด็กเมื่อคราวที่เด็กเกิดอารมณ์ ทั้งนี้เด็ก
สามารถเป็นผู้แยกแยะออกแล้วว่าตอนนี้อยุ่ในอารมณ์ความรู้สึกแบบใด
การส่งเสริมสุขภาพจิตทั่วไป
การพูดจาด้วยท่าทีสุภาพ น้ำเสียงนุ่มนวล
หยอกล้อพุดคุยให้เด็กได้หัวเราะ
การสัมผัส กอดจูบ
แสดงความรัก ความเมตตา
ให้กำลังใจในการหัดทำสิ่งต่าง ๆ ชมเชยเมื่อเด็กสามารถทำได้สำเร็จ
การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
การพัฒนาการเล่น
ช่วงวัย 4-6 ปีเด็กวัยนี้เรียนรู้เรื่องรอบตัวที่กว้างขึ้นและมีปฏิสัมพันธ์กับคนนอกบ้านมากขึ้น
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อต่าง ๆ คล่องแคล่วมากขึ้น
เด็กต้องใช้
ทักษะการทรงตัว กล้ามเนื้อมือขาที่ประสานกัน การได้เล่นเป็นกลุ่มช่วยเด็กเรียนรู้ทักษะทางด้านสังคมด้วย
ส่งเสริมความคิดจินตนาการและการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมทั่วไป
สอนให้ลูกมีสัมมาคารวะ รู้จักทำความเคารพ
สอนมารยาทในการรับประทาน
อาหารแก่ลูก
สอนให้ลูก
รู้จักแบ่งปันของให้ผู้อื่น เมตตาสัตว์เลี้ยง
เปิดโอกาสให้ลูกได้ฝึกทำงานบ้าน ส่งเสริมให้ลูกเล่นกีฬา รู้จักกติกา
เปิดโอกาสให้ลูกได้เล่นกับเพื่อนวัยเดียวกันพาลูกไปวัดเพื่อร่วมพิธีทางศาสนา
สอนวินัยขั้นพื้นฐานให้แก่ลูก