Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 ระบบปฏิบัติการและหลักการทำงาน - Coggle Diagram
บทที่5
ระบบปฏิบัติการและหลักการทำงาน
ระบบปฏิบัติการคืออะไร
ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุมโปรแกรมรวมถึงการ ติดต่อประสานงานกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการ บางครั้งเรียกว่า แพลตฟอร์ม (Platform)
ไบออส (BIOS : Basic Input Output System)
เป็นกลุ่มคำสั่งที่
บรรจุอยู่ในส่วนของหน่วยความจำ ROM
เริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์(Boot Up)
1.power supply ส่งสัญญาณไฟ
2.Bios เริ่มทำงาน
3.กระบวนการ Post ตรวจสอบอุปกรณ์
4.นำไปเปรียบเทียบข้อมูลใน CAMOS
5.BIOS อ่านไฟล์ระบบที่อยู่ใน Harddisk
6.Karnel ถ่ายโอนข้อมูลลงใน Ram
7.OS เข้าควบคุมหน่วยแสดงผลพร้อมแสดงผลให้ผู้ใช้ทำงาน
ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
โคลบู๊ต (Cold boot)
วอร์มบู๊ต (Warm boot)
กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง
กดปุ่ม ctrl+Alt+delete จากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกค าสั่ง Restart
กดปุ่มเปิดเครื่อง (Power On) เพื่อเข้าสู่กระบวนการท างานโดยทันที
การบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface)
User Interface คือส่วนการทำงานของโปรแกรมที่ติดต่อหรือเป็น
ตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์ให้ท างานได้ตามที่ต้องการ
ประเภทคอมมานด์ไลน์(Command Line)
ประเภทกราฟิก (GUI : Graphical User Interface)
เป็นการนำเอารูปภาพหรือสัญลักษณ์มาปรับใช้สั่งงานแทน
ตัวอักษร เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows
ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจดจำรูปแบบคำสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยากเหมือนกับแบบ
คอมมานด์ไลน์
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ประเภทคอมมานด์ไลน์เป็นการป้อนคำสั่งในรูปแบบ
ข้อความ (Text)
พิมพ์สั่งการทีละบรรทัดคำสั่ง จึงเรียกว่า คอมมานไลด์(Command line)
ผู้ใช้ต้องจดจำรูปแบบคำสั่งต่างๆเอง เช่น ในระบบปฏิบัติการ DOS
เคอร์เนลและเชลล์
Kernel เป็นส่วนประกอบหลักที่ ฝังตัวอยู่ในหน่วยความจ าตลอดเวลา ทำหน้าที่สำคัญโดยรวมทั้งหมด เช่น จัดสรรหน่วยความจำ
Shell เป็นส่วนที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ และติดต่อกับ Kernel (ผู้ใช้จะไม่สามารถเข้าถึง
ส่วน Kernel ได้โดยตรง)
การจัดการกับไฟล์(File Management)
ไฟล์(Files)
หน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ
เช่น ฮาร์ดดิสก์, แฟลชไดรว์, Memory Card หรือ CD/DVD เป็นต้น
ประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วนคือ ชื่อไฟล์ (Naming files) และส่วนขยาย
(Extentions) หรือเรียกกันว่านามสกุลของไฟล์
ลำดับโครงสร้างไฟล์
(Hierarchical File System)
ไดเร็คทอรี(Directory) คือ โฟลเดอร์หลักส าหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ขั้น
สูงสุดในระบบ บางครั้งอาจเรียกว่า Root Directory
ซับไดเร็คทอรี(Sub Directory) คือ โฟลเดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้
ออกมาอีกชั้นหนึ่ง
การจัดการหน่วยความจำ
(Memory Management)
ใช้วิธีที่เรียกว่า หน่วยความจำเสมือน (VM : Virtual Memory)
กรณีที่มีการประมวลผลกับข้อมูลปริมาณมากหรือหลายโปรแกรมพร้อมกัน
ระบบปฏิบัติการจะเก็บข้อมูลทั้งหมดของโปรแกรมที่ทำงานอยู่ขณะนั้นเอาไว้
เป็นไฟล์ในฮาร์ดดิสก์ (เรียกว่า Swap File)
โดยแบ่งเนื้อที่เหล่านั้นออกเป็นส่วนๆเรียกว่า เพจ (Page) ซึ่งมีการกำหนด
ขนาดไว้แน่นอน
การจัดการอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผลข้อมูล
(I/O Device Management)
ใช้บัฟเฟอร์(Buffer) เพื่อเป็นที่พักรอข้อมูลที่อ่านเข้ามา เช่น
การทำ Spolling ในการจัดการงานพิมพ์
เรียกใช้ดีไวซ์ไดรเวอร์ (Device Driver) เพื่อควบคุมอุปกรณ์ชนิดนั้นๆ
โดยเฉพาะ
การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง
(CPU Management)
แบ่งเวลาของซีพียูเพื่อประมวลผลในการทำงานแบบ Multi-Tasking
ทำให้ซีพียูตัวเดียว สามารถใช้ได้หลายๆคน หรือ Multi-User
ทำหน้าที่เป็นตัวประสานการทำงานของซีพียูที่มีมากกว่า 1 ตัว ให้
ทำงานด้วยกันได้ในระบบ Multi-Processing
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
การตรวจสอบสิทธิ์สำหรับเข้าใช้เครื่องหรือโปรแกรม (Logon) จะอนุญาตให้เฉพาะบุคคลที่ระบุชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านได้ถูกต้อง สามารถใช้งานโปรแกรมหรือข้อมูลในตัวเครื่องนั้นได้
การตรวจสอบสถานะการทำงานของระบบ
วัดประสิทธิภาพการทำงานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น วัดค่าเวลาที่ซีพียูทำงาน
การตรวจสอบเวลาของซีพียู
ที่ถูกปล่อยว่างในการทำงาน