Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแปลผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเลือด เสมหะ ปัสสาวะ อุจจาระ…
การแปลผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด เสมหะ ปัสสาวะ อุจจาระ น้ำไขสันหลัง
การตรวจเลือด : Complete Blood Count (CBC)
WBC… 5,000 –11,000 cell/mm3
(เซลล์ / ลูกบาศก์มิลลลิติร)
Neutrophil………..40 – 80 %
Lymphocyte………20 – 40 %
Monocyte…………..2 –10 %
Eosinophil……….....1 – 6 %
Basophil…………….<1 –2 %
ผลรวมเท่ากับ……….100 %
White blood cell count (WBC count)
oประมาณ 5,000 –11,000 cell/mm3(เซลล์ / ลูกบาศก์มิลลิลิตร)
ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ(Leukopenia)
•ไขกระดูกถูกทำลาย
•ความผิดปกติของไขกระดูก
•ภาวะภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง
•การติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรง
•ภาวะบาดอาหาร
•โรคที่ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ภาวะเม็ดเลือดขาวสูง (Leukocytosis)
•การอักเสบติดเชื้อในร่างกาย (Infection)
ความผิดปกติที่ดขกระดูกโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อในร่างกาย
(Tissue damage)
Neutrophil
•40 – 80 % หรือประมาณ 2,000 - 7,000 cell/mm3
•ทำหน้าที่ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย
•จำนวนน้อย เรียกว่า Neutropenia-ความผิดปกติที่ไขกระดูก
•จำนวนมาก-ร่างกายเกิดการอักเสบ
การติดเชื้อแบคทีเรียแบบเฉียบพลัน
Lymphocyte
•20-40% หรือประมาณ1000-3000cell mm3
•ต่อต้านเชื้อไวรัส
จำนวนน้อย ผู้ป่วยภูมิต่ำ ได้ยาเสตียรอยด์ หัวใจวาย มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
Monocyte
•2-10% หรือ200- 1000cell/mm3
•จับกินเชื้อโรค จดจำลักษณะ
เชื้อ
สูงกว่าปกติ การติดเชื้อรา เช่น วัณโรค ติดเชื้อแบคทีเรียที่หัวใจ
Eosinophil
1 – 6 % หรือประมาณ 20 – 500 cell/mm3
หน้าที่หลักในการต่อต้านพยาธิ การแพ้และการอักเสบ
Basophil
<1 –2% หรือประมาณ 20 – 1,000 cell/mm3
•อักเสบและภาวะภูมิแพ้เหมือนกับEosinophil
•อยู่ในเนื้อเยื่อเรียก Mast cell
•ปล่อยสารเคมีHistamine
•สูงกว่าปกติ แพ้อาหาร ผื่นลมพิษ ข้ออักเสบรูมาตอย มะเร็งบางชนิด
การตรวจเลือด : Complete Blood Count (CBC)
RBC ชาย 4.5 – 5.9 X 10ยกกำลัง6/mm3 หญิง 4.5 – 5.1 X 10ยกกำลัง6/mm3
Hb…ชาย 14 – 18 g/dL หญิง 12 – 16 g/dL
Hct…ชาย 38.8 – 50.0 % หญิง 34.9 – 44.5 %
Mean Corpuscular Volume (MCV)…..80 – 96 fL
Mean corpuscular hemoglobin(MCH)….27.5 – 33.2 pg
Mean corpuscular hemoglobin concentration (MCHC)..33.4 – 35.5 g/dL.
Hemoglobin (Hb)
•ชาย 14 –18 g/dL หญิง คือ 12 –16 g/dL
•เป็นสารสำคัญในการพาออกซิเจนที่รับจากปอดไปยัง
เซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย เพื่อใช้ออกซิเจนในปฏิกิริยาเผาผลาญอาหารเพื่อการดำรงชีวิตของเซลล์
•ต่ำ เสียเลือดมาก เลือดดออกเรื้อรังและออกทีละ
น้อย เช่น ประจำเดือนมามาก มีพยาธิในลำไส้
•สูง ภาวะขาดน้ำ,การปรับตัวทางสรีระวิทยาของ คนที่อาศัยอยู่บนที่สูง
Hematocrit (Hct)
• ชาย 38.8 – 50.0 % หญิง 34.9 –44.5 %
•คือระดับความเข้มข้น เป็นค่าที่บอกสัดส่วนปริมาตร
ของเม็ดเลือดแดงต่อปริมาตรของเลือดทั้งหมด
•ใช้ประเมินภาวะโลหิตจาง (Anemia)
และภาวะเม็ดเลือดแดงมาก (Polycythemia)
• พิจารณาร่วมกับค่า RBC count และ Hb
มักมีค่าเป็นทิศทางเดียวกัน
• ต่ำ เสียเลือด โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โลหิตจาง
• สูง ขาดน้ำรุนแรง ช็อคจากโรคไข้เลือดออก
ค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง
Mean Cell Volume (MCV)ค่าเฉลี่ยปริมาตรเม็ดเลือดแดง 80 – 96 Femtoliter (fL)
•ต่ำ เม็ดเลือดแดงมีขนาดเฉลี่ยเล็กกว่าปกติ เช่น ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตเหล็ก โรคธาลัสซีเมีย
•สูง เม็ดเลือดแดงมีขนาดเฉลี่ยใหญ่กว่าปกติ (Macrocytic)
เช่น ภาวะโลหิตจางจากการขาดวิตามินบี 12 ภาวะฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
Mean cell hemoglobin (MCH)ค่าเฉลี่ยระดับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
•27.5 –33.2 pg(pictogram)
•พิจารณาเสริมกับค่า MCV โดยมักจะมีแนวโน้มไปใน
ทิศทางเดียวกัน เนื่องจากหากขนาดเฉลี่ยของเม็ดเลือด
แดงเล็ก จะมีปริมาณฮีโมโกลบินในเซลล์ต่ำ หาก
ขนาดเฉลี่ยของเม็ดเลือดแดงใหญ่ จะมีปริมาณ
ฮีโมโกลบินในเซลล์สูง
Mean cell hemoglobin concentration (MCHC)ค่าเฉลี่ยควาเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดลือดแดง 33.4 –35.5 g/dL
ต่ำ เม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์มีความเข้มข้นฮีโมโกลบินน้อย
เช่น ภาวะโลหิตจางจาก Iron deficiency และ Thalassemia
สูง เม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์มีความเข้มข้นฮีโมโกลบินมาก
เช่น ภาวะโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกจากภาวะภูมิคุ้มกันต่อต้าน
เกล็ดเลือด (Platelet)150,000 – 450,000 cell/mm3
•เลือดแข็งตัวเมื่อร่างกายเกิดบาดแผล มีเลือดไหล
เกล็ดเลือดจะรวมกลุ่มกันเพื่ออุดรอยแผล เลือดหยุด
•ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ เกิดจุดเลือดออก จ้ำเลือดขนาดเล็ก - ใหญ่
•ภาวะเกร็ดเลือดสูง เกิดเลือดแข็งตัวแบบผิดปกติ
ในหลอดเลือด
ตวจเลือดระดับไขมันในเลือด
Cholesterol
•เด็ก 120 – 200 mg/dL ผู้ใหญ่
< 200 mg/dL
•คลอเรสเตอรอลถูกสังเคราะห์โดยตับ จากอาหารที่รับประทาน
เมื่ออยู่ในเลือดจับรวมกับโปรตีนเรียก lipoprotein
•คลอเรสเตอรอลสูง โรคอ้วน เบาหวาน
•คลอเรสเตอรอล โรคเรื้อรัง โรคตับ
Triglycerides
•ชาย 40 – 160 mg/dL หญิง 35 – 135 mg/dL
•เป็นไขมันที่มีหน้าที่หลักคือแหล่งของพลังงาน
•ค่าสูง พบในภาวะท่อน้ำดีอุดตัน เขาหวาน โรคตับ เสี่ยงหัวใจขาดเลือด
•ค่าต่ำ พบในปอดอุดกั้นเรื้อรัง เนื้อสมองตาย
High Density Lipoprotein
•เป็นไลโปโปรตีนที่จับกับคลอเลสเตอรอลในกระแสเลือด ทำลายที่ตับ
• HDL สูงจะเป็นผลดี ดี 50 – 59 mg/dL ดีมาก ≥ 60 mg/dL BMI> 25 โรคตับ
Low Density Lipoprotein
•เป็นไลโพโปรตีนที่ช่วยในการขนส่งคลอเรสเตอรอลจากตับไป
กระแสเลือด ค่าคลอเรสเตอรอลสูงขึ้น
•ปกติ (ดีเยี่ยม) คือ <100 mg/dL •เกือบดี 100 – 129 mg/dL
•สูงปานกลาง 130 – 159 mg/dL •สูง 160 – 189 mg/dL •สูงมาก ≥ 190 mg/dL
•ต่ำ ขาดสารอาหาร ต่อมไทรอยด์ทำงานมากไป •สูง โรคไต โรคตับ
ตรวจเลือดค่าElectrolytes
Sodium Na+ ...136 –145 mEq/L
Potassium K+ ...3.5 –5.2 mEq/L
Chloride Cl- ...95 –108 mEq/L
Bicarbonate HCO3... 24 –30 mEq/L
หน้าที่
คุมการยืด - หดกล้ามเนื้อ ช่วยให้เกิดการเคลื่อนไหวของน้ำ
ของเหลวเพื่อสร้างสมดุล ส่งเสริมให้ปฏิชีวเคมีราบรื่นI
การตรวจเลือด : หาโรคทั่วไป
Uric acid…ชาย 4.0 –8.5 mg/dL หญิง 2.7 – 7.3 mg/dL
หาสารบ่งชี้มะเร็ง (tumor marker) เช่น
Alpha-Fetoprotein (AFP) มะเร็งตับ…0 –20 ng/mL
Carcinoembryonic Antigen(CEA) มะเร็งลำใส้…2.5 –5.0 ng/mL
Blood uric acid
ตรวจหาความเข้มขันกรดยูริกวินิจฉัยโรคปอดอักเสบ
เกาต์ ไตเสื่อมสภาพ
ชาย 4.0 –8.5 mg/dL หญิง2.7– 7.3 mg/dL
การตรวจเสมหะ
มี 2 แบบ
1.การมองด้วยสายตา (Visual examination) การตรวจลักษณะภายนอก ดูปริมาตร สี กลิ่น
เสมหะมีเลือดปนมาก
เสมหะข้นจำนวนไม่มาก สีสนิมเหล็ก
เสมหะเป็นหนอง ปริมาณมาก กลิ่นเหม็น
เสมหะเหนียวจำนวนมากเป็นวุ้นสีแดงคล้ำ
เสมหะเป็ น mucoid น้อย ไอมาก
การตรวจทางกล้องจุลทรรศน์(Microscopic examination)
•การย้อม Gram’s stainบอกลักษณะ
เชื้อเป็น Gram positive หรือ Gram negative
•การตรวจ Acid-Fast Bacillus (AFB)
ช่วยในการวินิจฉัยการติดเชื้อจากวัณโรค
•การเก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อเลี้ยง (sputum culture)
1.เพื่อวิเคราะห์หาพยาธิสภาพของเชื้อโรคในหลอดลม
2.เพื่อตรวจเพาะเชื้อ เลือกใช้ยาปฏิชีวนะให้เหมาะสม
3.เพื่อตรวจหาเซลล์ที่มีความผิดปกติหรือ เซลล์มะเร็งในหลอดลมและปอด
Visual Examination
•จำนวน Volume ผู้ใหญ่600 – 1,600 ml/day
แรกเกิด 30 – 60 ml/day
เด็ก 2 เดือน -1 ปี 400 – 500 ml/day
เด็ก 8 – 14 ปี เริ่มเท่ากับผู้ใหญ่
•ความขุ่นใส Turbidity เป็น 4 ระดับคือ ใส ขุ่นเล็กน้อย ขุ่น ขุ่นข้น
ปกติ -ใส ผิดปกติ - ขุ่นจากเม็ดเลือดขาวปนเชื้อแบคทีเรีย
• กลิ่น Odor ปกติ กลิ่นแอมโมเนียอ่อน ๆ
•Color ปกติ สีเหลือง หรือสีเหลืองอ่อน
สีเหลืองเข้ม ดื่มน้ำน้อย ใสไม่มีสี ดื่มน้ำมาก
• ความถ่วงจำเพาะ Specific gravity ปกติ 1.010 – 1.035
ค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะ
วัดความสามารถของไตในการปรับความเข้มข้นของปัสสาวะ
ผิดปกติ ค่าต่ำ ปัสสาวะเจือจาง เช่น เบาจืด
ค่าสูง ปัสสาวะเข้มข้น เช่น เบาหวาน ขาดน้ำ ช็อค
Chemical Analysis
•ตรวจดูสารเคมีในปัสสาวะ
•ใช้แผ่นตรวจสำเร็จรูปที่เคลือบสารเคมี
•ใช้แฝนตรวจจุ่มในปัสสาวะจะเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนสี นำแผ่น
•ตรวจที่เปลี่ยนสีมาอ่านผล
การตรวจอุจจาระ
ลักษณะของสีอุจจาระ (Consistency)
ปกติ Solid 25 – 30% Water 70 – 75%
ผิดปกติ มีมูกปนแสดงว่าลำใส้อักเสบ
สีของอุจจาระ (Color)
สีปกติ เหลือง น้ำตาล คล้ำ
สีผิดปกติ เทา- ท่อน้ำดีอุดตัน ดำ-เลือดออกทาง
เดินอาหารส่วนบน มูกปนเลือด-ติดเชื้อ แดงเลือดออกทาง
เดินอาหารส่วนล่าง
มูก(Mucous)
ปกติ ไม่พบหรือพบได้น้อยมาก (มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า)
ผิดปกติ Positive
เลือด (Blood)
ปกติ ไม่พบ
ผิดปกติ โรคในระบบทางเดินอาหาร
การตรวจน้ำไขสันหลัง
Cerebrospinal fluid (CSF) เป็นของเหลวทอี่ยู่ในสมองหรือไขสันหลัง
หน้าที่ปกป้องสมองและดูกสันหลังจาการบาดเจ็บ
Color
ปกติคือ ไม่มีสี มีความใส ไม่ขุ่นมัว ไม่มีตะกอน
Pressure
ค่าปกติ5 – 20 cmH2O
Red Blood Cells
ปกติ ไม่มี red cells
ผิดปกติเปลี่ยนสีของ CSF ขึ้นมีสีออกเหลือง
จะเป็นสีแดงเข้ม
การปรากฎ Red cells ใน CSF เป็ นเรื่องผิดปกติ แสดงว่ามีเลือดออกใน Cerebral spinal space
Glucose
ปกติ การตรวจพบกลูโคสใน CSF เป็ นเรื่องปกติ
ผู้ใหญ่ 40 – 80 mg/dL
เด็ก 35 – 75 mg/dL แรกเกิด 20 – 40 mg/dL
CSF Culture การย้อมเชื้อโรคและการเพาะเชื้อ
ปกติ Negative ไม่พบเชื้อ
ผิดปกติ Positive
นางสาวชนมน เอมะสุวรรณ รหัส 6413104