Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562, นางสาวจุฑามาศ ศรีด่านกลาง ปี2…
พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562
มาตราที่ 1 - 8
มาตราที่ 1 พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562
มาตราที่ 2 พระราชบัญญัติบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตราที่ 3
เด็กปฐมวัย หมายความว่า เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 6 ปีบริบูรณ์ รวมถึงเด็กที่ต้องได้รับการพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับประถมศึกษา
การพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายความว่า การดูแล การพัฒนา และการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย หญิงตั้งครรภ์ หรือผู้ดูแลเด็กปฐมวัย
ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย หมายความว่า บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ซึ่งเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 4 ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 1 บททั่วไป
มาตราที่ 5
มารดาได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์
เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดี
สร้างคุณลักษณะให้มีอุปนิสัยใฝ่ดี
บ่มเพาะเจตคติของเด็ก
ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยควรได้รับความรู้
มาตราที่ 6 หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง มีภารกิจร่วมกันดำเนินการเพื่อให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 7 บิดา มารดา และผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้เด็กปฐมวัยอยู่ในความดูแลได้รับการพัฒนาตามแนวปฏิบัติที่ดี
มาตราที่ 8 การจัดการเรียนรู้ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องเป็นไปเพื่อเตรียมความพร้อมไม่เน้นการสอบแข่งขัน
มาตราที่ 9 - 16
หมวด 2 คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 9
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
เป็นประธานกรรมการ
กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาธิการ ฯลฯ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน
มาตราที่ 10
มีสัญชาติไทย
อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี
ไม่เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ
มาตราที่ 11 มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
มาตราที่ 12 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติ
บกพร่องต่อหน้าที่
มาตราที่ 13 พ้นจากตำแหน่งก่อนวาระให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่างภายใน 60 วัน
มาตราที่ 14 หน้าที่คณะกรรมการ
จัดทำนโยบายระดับชาติ
อนุมัติแผนงบประมาณและแผนการดำเนินงาน
เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี
ส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยและครูอาจารย์สามารถดูแลและพัฒนาเด็ก
มาตราที่ 15 การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตราที่ 16 คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งที่ปรึกษา
และคณะอนุกรรมการ
มาตราที่ 17- 24
มาตราที่ 17 คณะอนุกรรมการบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัย
จัดทำแผนพัฒนาเด็กให้สอดคล้องกับกฎหมาย
จัดทำสมรรถนะและตัวชี้วัดการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 18 ให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
หมวด 3 แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 19 ให้คณะกรรมการเสนอแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยต่อคณะรัฐมนตรี
มาตราที่ 20 ระยะเวลาการบังคับใช้แผน
การบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างน้อยงานของรัฐ
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อม
มาตราที่ 21 จัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 22 ให้คณะกรรมการติดตามให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติการตามแผน
มาตราที่ 23 การผลิตครูหรือพัฒนาครูด้านการพัฒนา
เด็กปฐมวัย จัดให้มีการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้าง
จิตวิญญาณของความเป็นครู
มาตราที่24 สถานพยาบาลของหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่ให้บริการสาธารณสุขแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย
มาตราที่ 25 -28
มาตราที่ 25 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ต้องจัดให้มี
การอบรมเลี้ยงดู เพิ่มพูนประสบการณ์
มาตราที่ 26 หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือภาคเอกชน ต้องจัดสวัสดิการและให้บริการด้าน
การคุ้มครองสิทธิแก่เด็กปฐมวัย
มาตราที่ 28 จัดการศึกษา
หรือจัดสวัสดิการและให้บริการด้านการคุ้มครองสิทธิแก่เด็กปฐมวัยในหน่วยงานเดียวกันได
นางสาวจุฑามาศ ศรีด่านกลาง ปี2 หมู่1 6340101105