Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติหลักสูตรไทย - Coggle Diagram
ประวัติหลักสูตรไทย
หลักสูตรสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 1 ฟื้นฟูการศึกษา ด้านอักษรศาสตร์ กฎหมายและหลักธรรมทางศาสนา(สังคายนาพระไตรปิฎก)
รัชกาลที่ 2 ส่งเสริมวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ ตั้งโรงทานหลวงเพื่อใช้เป็นที่ให้การศึกษา
รัชกาลที่ 3 ส่งเสริมการศึกษาทางศาสนา จารึกวิชาความรู้สามัญและอาชีพลงในแผ่นศิลา
รัชกาลที่ 4 มีวิทยาการใหม่ ๆ การจัดการเรียนเน้นการอบรมสั่งสอนและการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา การศึกษามีทางด้านอักษรศาสตร์ ธรรมชาติวิทยาหรือวิทยาศาสตร์ วิชาชีพ
รัชกาลที่ 5 ยุคการปฏิรูปการศึกษา การจัดการศึกษาเริ่มมีระเบียบแบบแผน
รัชกาลที่ 6 ฝึกคนเข้ารับราชการ ชี้แนะแนวทางให้มีความรู้ด้านการเลี้ยงชีพ และสร้างความรู้สึกชาตินิยม
รัชกาลที่ 7 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา คือ การเมือง การประกาศใช้กฎหมายการศึกษา อิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
รัชกาลที่ 8-9 การจัดหลักสูตรสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
หลักสูตรสมัยสุโขทัย
รัฐและวัด
สนองความต้องการของสังคม
เขียนหนังสือและวรรณคดี เช่น ศิลาจารึก , สุภาษิตพระร่วง , ไตรภูมิพระร่วง
การจัดการศึกษา
วัง
สำนักราชบัณฑิต
วัง
การศึกษาในบ้าน
หลักสูตรสมัยกรุงธนบุรี
เน้นการทำนุบำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะ และวรรณคดี
รูปแบบการเรียนการสอนเหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยา
แบบเรียนที่ใช้ คือ หนังสือประถม ก.กา และหนังสือปฐม มาลา
วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เด็กผู้ชายเท่านั้นที่มีโอกาสเรียนหนังสือ ส่วนเด็กผู้หญิงเรียนวิชาชีพ
หลักสูตรสมัยอยุธยา
วัดเป็นศูนย์กลางการศึกษา
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
วิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียน คิดเลข ใช้แบบเรียนจินดามณี
วิชาทางศาสนา
วิชาด้านภาษา และวรรณคดี
การศึกษาของผู้หญิง เรียนวิชาชีพ การเรีอน ทอผ้า มารยาท
วิชาการด้านทหาร