Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ม.2เรื่อง1การจัดสรรทรัพยากร, กระทรวง - Coggle Diagram
ม.2เรื่อง1การจัดสรรทรัพยากร
1.การผลิตสินค้าและบริการ
1.1ความหมาย ความสำคัญ
องค์ประกอบการผลิตคือ ปัจจัย+กระบวนการ-----สินค้าและบริการ
หน่วยเศรษฐกิจที่ผลิตคือ ผู้ผลิต หรือ หน่วยธุรกิจ เช่นห้างหุ้นส่วน บริษัท
สินค้า
สินค้าไร้ราคา /ทรัพย์เสรี free good
ส่ิงมีประโยชน์ หาง่าย ไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซ์้อขาย
น้ำ อากาศ แสง ลม
เศรษฐทรัพย์/economic good
อรรถประโยชน์ มีจำกัด
เช่น อาหาร เสื้อ ยา น้ำมัน
การผลิตมี3ประเภท
คือกระบวนการรวบรวม และใช้ประโยชน์ปัจจัยการผลิต
2.secondary production
การดัดแปลงเป็นสินค้าใหม่ เพื่อคุ้มค่าและลดการสูญเสีย เช่น ลำไยอบแห้ง ผลไม้กระป๋อง
1.primary production
คือกรรมวิธีไม่ยุ่งยาก ผลผลิตส่งไปเป็นวัตถุดินในการผลิตต่อ เช่น การทำนา ไร่ ป่าไม้ ประมง
3.tertiary production
การนำผลผลิตทั้ง2ขั้นถึงผู้บริโภคด้วยวิธีการต่างๆ เช่นการค้าปลึก การธนาคาร การหีบห่อ ++ประเทศพัฒนาแล้วจะมีขั้นนี้มากกว่าขั้นอื่นๆ
การบริการ
การผลิตส่ิงที่จับต้องไม่ได้ แต่สนองความต้องการได้
เช่น การศึกษา บันเทิง รักษาพยาบาล เล่นกีฬา
1.2หลักการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
ต้องคำนึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากสุด หรือเสียต้นทุนต่ำสุด
ทำได้โดย
2.
ด้านการจัดการ
โดยการวางแผน+ควบคุมการผลิต +เป้าหมาย
3.
ด้านปัจจัยการผลิต
โดยการคัดเลือก ให้มีคุณภาพ และราคาทุนต่ำ
1
.ด้านบุคลากร
ใช้หลักการแบ่งงานแต่ละขั้นตอน + ความชำนาญ
3.การคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค (
พรบ2522
แก้ไขเพ่ิม
ฉบับ4 2562)
3.2หลักการเลือกซื้อสินค้า
2.ซื้ออย่างไร เงินสดหรือผ่อน
3.ซื้อเมื่อใด ตามฤดูกาล ตอนลดราคา หรือกำหนดเวลา
1.ซื้ออะไร
4.ซื้อที่ไหน
3.3การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้บริโภค พรบ2522+แก้ไขเพ่ิมฉบับ4 2562
3.สิทธที่ได้รับความปลอดภัย
4.สิ่ทธิได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
2.สิ่ทธิในการเลือกหา
5.สิทธิได้รับการชดเชยความเสียหาย
1.สิทธที่จะได้รับข่าวสาร
3.4กฎหมายคุ้มครองสิทธผู้บริโภค
1.กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานเลขาธิการแพทยสภา
สำนักงานสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
อย 1556
2.กระทรวงพานิชย์
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ดูแลการชั่ง ตรวงวัด สินค้าไม่ได้มาตราฐาน
** 1570
กรมการค้าภายใน
1569
ดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภค
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประภันภัย
คปภ
.
1186
3.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมปศุสัตว์
กรมวิชาการเกษตร
4.กระทรวงอุตสาหกรรม
5.กระทรวงคมนาคม
6.กระทรวงมหาดไทย
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (โรงแรม หอพัก การโฆษณษ ใช้เคร่ื่องขยายเสียง)
กรมที่ดิน (การจัดสรรที่ดิน อาคารชุด)
กรมโยธาธิการและผังเมือง ควบคุมอาคาร
8.กองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว
1155
7.กระทรวงการคลัง
9.สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโคภ (สคบ.)
1166
พรบ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท การใช้สารระเหย การกู้ยืมเงินฉ้อโกง
10.มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
3.5แนวทางการปกป้องสิทธิผู้บริโภค
3.5.1แนวทางสำหรับผู้บริโภคในการซื้อ
2.สอบถามข้อเท็จจริงกับผู้ขายหรือผู้เคยใช้
3.ศึกษาเงื่อนไข ข้อจำกัดของสินค้า
1.ดูฉลาก
ชื่อประเภทหรือชนิดสินค้า /ชื่อประเทศที่ผลิตสินค้าที่นำเข้ามาเพื่อขาย/เครื่องหมายการค้าที่จดในประเทศของผู้็ผลิต +ผู้สั่งนำเข้ามาขาย/ สถานที่ตั้งผู้ผลิตหรือของผู้สั่งนำเข้า /ขนาด ปริมาณ/วิธีใช้/ข้อแนะนำข้อห้าม /วดปผิลิต หรือหมดอายุ/ ราคา ต่อหน่วย
4.ร้องให้หน่วยงานตรวจสอบคุณภาพและปริมาณสินค้า
5.อย่าหลงคำโฆษณา
3.5.2แนวทางหลังจากซื้อ
3.5.3การเตรียมการเพื่อร้องทุกข์
เอกสาร
2.ปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ
2.1.ประเภทของปัจจัย
1.ที่ดิน-ค่าเช่า
คือพื้นดิน +ทรัพยากรต่างๆที่อยู่บน ใต้และเหนือพื้นดิน
2.แรงงาน-ค่าจ้าง
แรงงานกึ่งฝีมือ
เช่นช่างไม้ คนคุมเครื่องจักร
แรงงานไร้ฝีมือ
หรือแรงงานพัฒนาฝีมือ ไม่ต้องมีความรู้ใช้แรงอย่างเดียว
แ
รงงานฝีมือ
คือมีความรู้ ได้รับการฝึกฝน มีทักษะและประสบการณ์ ได้แก่ แพทย์ สถาปนิก วิศว
3.ทุน-ดอกเบี้ย
ได้แก่ โรงงาน เครื่องจักร รถ อุปกรณ์ต่างๆ
4.ผู้ประกอบการ-กำไร
เป็นผู้นำที่ดิน แรงงานและทุนมาผลิตสินค้าเพื่อใคร ผลิตอะไร อย่างไร
2.2ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิต
1.ผลตอบแทนทางด้านทุน
ว่าผลตอบแทนที่คาดว่าคุ้มค่าหรือไม่กับการลงทุน
2.ความคุ้มค่าของการใช้ปัจจัยการผลิต
3.ปัจจัยด้านคุณธรรม
การเลือกใช้ปัจจัยควรตระหนักถึงผลกระทบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม
2.3เทคโนโลยีการผลิต
เทคโนโลยีคือ
วิทยาการที่นำความรู้วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฎิบัติ อุตสาหกรรม
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต
ผลการใช้เทคโนโลยีการผลิต
ผลต่อผู้บริโภค
ราคาสินค้าต่ำลง
ผลต่อผู้ผลิต
ทำให้ประหยัดต้นทุน เพิ่มการแข่งขัน (ปริมาณคุณภาพเท่าเดิมแต่
ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยลง
หรือ ใช้ปัจจัยเท่าเดิมแต่ได้
ปริมาณผลผลิตมากขึ้น
)
2.4การผลิตสินค้าและบริการ
2.4.1โครงสร้างการผลิตของไทย 3สาขา
2.ภาคอุตสาหกรรม
ราคาผลผลิตผันผวน--ขาดเสถียรภาพ--รัฐปรับโครงสร้างให้มีผลิตสินค้าอุตสาหกรรมใหม่ๆ ทดแทนสินค้านำเข้าและส่งออก /// เล่น แผงวงจาร์ ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก
3.ภาคบริการ รวมถึง การค้า การธนาคาร การขนส่ง การก่อสร้าง การท่องเที่ยว
1.
ภาคเกษตรกรรม** เป็นแหล่งรายได้หลัก เป็นฐานเพ่ิมมูลค่าภาคอุตสาหกรรม ///แต่เติบโตน้อยกว่าภาคอื่นเพราะไม่ทันต่อการแข่งขันในตลาดโลก ///ดูจากสัดส่วนผลิตภัณฑ์การเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ //สินค้าส่งออก เช่น ช้าว ยางพารา กุ้งแช่แข็ง เนื้อไก่แช่แข็ง
2.4.2 ปัญหาการผลิต
ภาคเกษตรกรรม
ภัยแล้ง ความต้องการที่ลดลงของตลาดต่างชาติ ราคาผลผลิตต่ำ
ภาคอุตสาหกรรม
ความต้องการภายในลดลง การขาดวัตถุดิบของอุตสาหกรรมอาหารทะเล คำสั่งซื้อลดลงของอุตสาหกรรมสิ่งทอ พฤติกรรมการต้องการใช้
ภาคบริการ
เช่นต้นทุนก่อสร้างสูง ความต้องการสินค้าลดลง จำนวนนักท่องเที่ยงลดลง อัตราดอกเบี้ยเงินฝากลด ดอกเบี้ยเงินกู้สูง ทำให้สินเชื่อภาคครัวเรรือนชะลอลง
กระทรวง