Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Water and acid base balance, นางสาวกนกพร เสาวมาลย์ รหัสนักศึกษา…
Water and acid base balance
Acid-Base Balance
pH ปกติ = 7.35-7.45
ในเลือด = 7.4
ในหลอดเลือดดำของเหลวระหว่างเซลล์ = 7.35
ในเซลล์ = 7.0
Alkalosis / Alkalemia ภาวะด่าง pH มากกว่า 7.45
Acidosis / Acidemia ภาวะกรด pH น้อยกว่า 7.35
การวิเคราะห์ภาวะ กรดเกิน และด่างเกิน
ผู้ป่วย มีค่า pH ในเลือด = 7.35 , HCO3- = 16 mEq/ L , pCO2 = 30 mmHg
ผู้ป่วย มีภาวะ กรดด่างในร่างกาย อย่างไร
ดูค่า 7.35 > acidosis Normal 7.45
หาว่า กรดเกิน เกิดจากอะไร metabolism
HCO3-หรือ respiration (CO2)
ดูกลไกทดแทน
Body fluid balance
Osmolality
Osmo regulation ศุนย์รับรู้ความเข้มข้นของน้ำในลือด
Water balance ทำให้เจือจาง
ความเข้มข้นของโซเดียมในเลือด
มีฮอร์โมน ADH
Volume
Volume regulation ควบคุมปริมาตรของน้ำ
Sodlum balance รักษาสมดุลโซเดียม
โซเดียมในร่างกาย
มีฮอร์โมน RAAS , ANP
Neural control โดยระบบประสาทอัตโนมัติ
ซิมพาเทติก
Areail natriretic peptide
ฮอร์โมนที่สร้างจากหัวใจห้องบน
ถ้าน้ำในเลือดกลับเข้าหัวใจ ผนังหัวใจจะยืดขยาย ส่งผลให้มีการหลั่งฮอร์โมน
ออกฤทธิ์กับ
ไต ยับยั้งRAAS เพิ่มอัตราการกรอง ยับยั้งการทำงานของซิมพาเทติที่เลี้ยงไต
หัวใจ ลดปริมาณเลือดที่กลับเข้ามา ลดผังผืดที่หัวใจ
หลอดเลือด ขยายตัว ลดความดันเลือด
ADH
บทบาท
เมื่อ collecting duct กรองเยอะ จะต้องมีน้ำกรองกลับไปที่เส้นเลือดฝอย กลไกที่หลั่งน้ำกลับคือ ฮอร์โมน ADH
กลไก
Osmoreceptors อยู่ใน Hypothalamus จะรับรู้ว่าเลือดเข้ามามีควาเข้มข้นขึ้นหรือลดลง จะไปกระตุ้นให้หลั่ง ADH
ADH ถูกสร้างมาเเละเก็บไว้ที่ Pituitary gland
ADH มีผลต่อความสามารถ Increased permeability ในการดูดกลับน้ำไปที่ไต
เมื่อดูดกลับน้ำเข้าเส้นเลือดแล้ว ความเข้มข้นจะลดลง กลับสู่ภาวะสมดุล Homeostasis
Renin-Angiotensin System
ทำงานเมื่อเลือดจาก afferent artriole มีปริมาณของเลือดและโซเดียมลดลง จะตอบสนองโดยหลั่ง Renin
Aldosterone ตัวควบคุมโซเดียมมในเลือด
เมื่อโซเดียมต่ำ จะช่วยให้มีการดึงโซเดียมในน้ำที่กรองผ่าท่อไตส่วนปลายเข้าไปในเลือด เมื่อโซเดียมกับน้ำกลับไปด้วย
น้ำในร่างกาย
ปริมาณน้ำในร่างกายของผู้ใหญ่ มีประมาณ 60% ของน้ำหนักตัว
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
Intracellular fluid น้ำในเซลล์ 40% body weight
Extracellular fluid น้ำนอกเซลล์ 20% body weight
Interstital fluid น้ำระหว่างเซลล์
Blood plassma and lymph ในเลือด
Fluid balance
Water gain น้ำเข้า
ได้รับจากอาหาร/เครื่องดื่ม/กระบวนการเผาผลาญสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงมาน
Water loss สูญเสียน้ำ
ผิวหนัง/ปอด/ปัสสาวะ/อุจจาระ
การเคลื่อนที่
ใช้หลักการออสโมซิส
จากบริเวณที่มีน้ำมากไปที่มีน้ำน้อย
Respiratiry acidosis
pH ต่ำกว่า 7.35
PaCO2 มากกว่า 45
สาเหตุ---หายใจช้า โรคทางระบบประสาท ปัญหาการระบายอากาศ ระบบหายใจผิดปกติ ติดเชื้อเฉียบพลัน
อาการ---หายใจหอบเหนื่อย กระสับกระส่าย สับสน เซื่องซึม การเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ ปวดหัว
การรักษา---หายใจเพิ่มขึ้น
Respiratory system
กำจัดกรดด่างทางระบบหายใจ อาจทำงานเป็นนาทีหรือชั่วโมง ไม่สามารถกำจัดได้ทั้งหมด เพราะถูกควบคุมด้วยสารเคมีในเลือด
ควบคุบกรดด่างได้โดยการเพิ่มหรือลด
rate (อัตรา) และ depth (ความลึก)
Buffer system
สารละลายจะเป็น บัฟเฟอร์ที่ดี ขึ้นกับ
ปริมาณของบัฟเฟอร์
pK ของ บัฟเฟอร์
สมบัติของบัฟเฟอร์คือ ต้านการเปลี่ยนแปลงของ pH เมื่อเติมกรด หรือด่างเข้าไป
สารละลายของกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน หรือ ด่างอ่อนกับเกลือของด่างอ่อน
Metabolism
Volatile acid กำจัดทางปอด
Non volatile acid กำจักออกจากไต
Respiratiry alkalosis
pH ต่ำกว่า 7.45
PaCO2 น้อยกว่า 35
สาเหตุ---หายใจเร็ว CO2 ถูกขับ วิตกกังวล เจ็บปวด มีไข้ พิษจากต่อมไทรอยด์ ขาดออกซิเจน อุดตันที่ปอด
อาการ---มึน กล้ามเนื้อเกร็ง
มีเหงื่อออก ปากแห้ง ตาพร่า
การรักษา---หายใจช้าลง เอาถูกมาครอบให้ CO2 กลับเข้าไป
Metabolic alkalosis
pH มากกว่า 7.45
HCO3 มากกว่า 28
สาเหตุ---กินของที่เป็นด่าง เช่น ยาลดกรด ได้ lactate จากภาวะ dialysis เสียกรด คนที่มีภาวะ Hypo-chloremia-kalemia คนที่ได้รับยาขับปัสสาวะ คนที่ได้รับเลือดเป็นจำนวนมาก
อาการ---กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ชัก มึนงง คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลีย
การรักษา---รักษาตามอาการ
รักษาสมดุลโดยไต
ทำงานโดย 2 กลไก
1) Reabsorb all the fi;tered HCO3
ดูดซึม HCO3 ที่มาในน้ำกรอง ดูดกลับไปเก็บที่ท่อไตฝอยส่วนต้น
2) To excrete thr daily H+ load
กำจัด H+ ในเลือดออกไป เป็นหน้าที่ของ collecting duct
การกำจัด H+ ทิ้งขึ้นอยู่กับ 3 กลไก 1) ดูดกลับ HCO3
2) ขับกรดทิ้งในรูป titratable acid
3) ขับ H+ ทิ้งในรูป ammonia
Metabolic acidosis
pH น้อยกว่า 7.35 HCO3 น้อยกว่า 22
สาเหตุ---กรดเข้าร่างกาย หายใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน Metabolism ผิดปกติ กินอาหารหรือยาที่เป็นกรด เสียด่างทำให้กรดทำงาน เช่น ท้องเสีย ไตวาย รูผนังลำไส้รั่ว
อาการ---ปวดหัว สับสน มึนงง โคม่า
อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน
การรักษา---ให้ด่าง ถ้าเป็นกรดจาก
ไตวายจะต้องฟอกไต
นางสาวกนกพร เสาวมาลย์
รหัสนักศึกษา 64106301001
แหล่งอ้างอิงจาก
เอกสารประกอบการสอนของ
อาจารย์ชุติพร จริตงาม และการจดในคาบเรียน