Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ (Theory of aging) - Coggle Diagram
ทฤษฎีความสูงอายุ
(Theory of aging)
ทฤษฎี ความสูงอายุเชิงชีวภาพ
( Biological theories of aging )
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง
(Cross-linking)
สารไขว้ขวาง (Cross-linking agent)
เกาะ DNA ทeให้เซลล์ทeหน้าที่
ผิดปกติ
เนื้อเยื่อคอลลาเจน เปลี่ยนแปลงความคล่องตัวในการ
เคลื่อนไหวร่างกายจึงลดลง
เนื้อเยื่อขาดความยืดหยุ่น
Collagen
ผิวหนัง
มีลักษณะแข็ง ละลายได้น้อยลง
การขนส่ง & การขับถ่ายของเสียลดลง
สูญเสียความยืดหยุ่น กลับแข็ง แตกแห้ง
เนื้อเยื่อมีของเหลวลดลง มีการเชื่อมกันมากขึ้น
เอ็น
กระดูก
กล้ามเนื้อ
หลอดเลือด หัวใจ
Elastin
ขาดลุ่ย แตกหัก เปราะ ฉีกขาดง่าย
ECF ของเนื้อเยื่อลดลง
Ca , Na , Cl เพิ่มขึ้น
มีผลต่อการซึมผ่านของก๊าซ , เซลล
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical theory)
เกิดจากการเผาผลาญโปรตีน
ไขมันและคาร์โบไฮเดรตในร่างกาย
การได้รับสารพิษ สารเคม
ส่งผลให้ทำลายโปรตีน
เอนไซม์และ DNA เซลล์ในร่างกายทำงาน
แสงแดด
เป็นตัวเร่งความเสื่อม โดยเฉพาะบริเวณที่สัมผัสลม
และแสงแดดมากกว่าส่วนอื่นๆ
ผิวหนังบาง
หลอดเลือดเปราะง่าย
เกิดรอยเหี่ยวย่น
และเกิดมะเร็งได
Vitamin A , C , E
การพยาบาลตามทฤษฎี
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ การสัมผัสสารเคมี
ปกป้องร่างกายจากแสงแดด รังสี
การทาครีมกันแดด
รับประทานอาหารต้านอนุมูลอิสระ
วิตามิน A, C และ E
รับประทานผักผลไม้สีเหลือง ส้ม เนื้อสัตว์สีส้ม
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
(Wear and tear theory)
การบาดเจ็บสะสมจากการใช้งานอวัยวะ อย่างหักโหม
ยืน เดินเป็นเวลานาน
ข้อเข่าเสื่อม
ยกของหนัก
น้ำหนักตัวมาก
อายุมากขึ้นเซลล์จะมีการตาย
การพยาบาลตามทฤษฎี
การควบคุมน้ำหนักตัว
ขึ้นลงบันไดช้าๆ ใช้ลิฟต์บันไดเลื่อน
ออกกำลังกายที่เหมาะสม
รำมวยจีน
ออกกำลังกายในน้ำ
ปั่น
จักรยานอากาศ
พักการใช้งานอวัยวะที่หนัก
ทฤษฎีการสะสม
(Accumulative theory)
ความสูงอายุเป็นผลผลิตได้มาจากการเผาผลาญของโปรตีนและไขมัน
ทำให้เกิดของเสียคั่งในร่างกาย
เกิดการสะสมไลโป
ฟัสซิน (Lipofuscin)
อวัยวะที่พบได้มาก
เนื้อเยื่อของตับ
รังไข่
เซลล์ประสาท
กล้ามเนื้อ
หัวใจและผิวหนัง
Lipofuscin
สะสมในเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เท่ากัน
เกิดจากการแตกตัว
โปรตีน
กระบวนการ peroxidation
ไขมันที่ผนังเซลล์
การซึมผ่านที่ผนังเซลล์ลดลง
การพยาบาลตามทฤษฏี
รับประทานอาหารที่มีวิตามินอีและซิลิเนียมสูง
อาหารทะเล
ตับ ไต ปลาทูน่า
จมูกข้าวสาลี รำข้าว
ข้าวกล้อง
ใบยอ ข้าวโพด
หัวหอม กระเทียม
มะเขือเทศ บรอกโคลี
ทฤษฎีพันธุกรรม
(Genetic theory)
ถูกควบคุมด้วยแบบแผนทางพันธุกรรม
คนที่อายุยืน
การแบ่งเซลล์มากกว่าคนที่อายุสั้น
ทำให้อายุคนเราไม่เท่ากัน
การพยาบาลตามทฤษฎี
ป้องกันไม่ให้ร่างกายเสื่อมเร็วกว่ากำหนด
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงดื่มแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
ตรวจสุขภาพประจำปี
ค้นหาสาเหตุของปัญหาสุขภาพ
มีโรคประจำตัว ที่เกิดเป็นทางพันธุกรรม
เฝ้าระวัง
ปัญหาและภาวะแทรกซ้อนของโรค
ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
(Neuroendocrine-Immunologic theory)
ระบบภูมิคุ้มกัน
T - cell & B - cell ทำหน้าที่ไม่แน่นอน
ระบบภูมิคุ้มกันลดลง
Infection
อายุที่มากขึ้น
T และ B cell lymphocyte
สูญเสียความสามารถในการ
จับเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส
มีโอกาสทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ระบบต่อมไร้ท่อ
ตับอ่อนหลั่งอินซูลิน
โรคเบาหวาน
การพยาบาลตามทฤษฎี
กระตุ้นการเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
ป้องกัน
การติดเชื้อด้วยการรักษาสุขภาพอนามัย
สร้างภูมิคุ้มกันด้วยการฉีดวัคซีน
หลีกเลี่ยงสารก่อมะเร็ง
อาหารปิ้งย่าง
ควันบุหรี่
การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
( Psychosocial theory of Aging )
ทฤษฎีการถดถอยจากสังคม
( disengagement theory )
ถดถอยออกจากสังคมและกลไกทางสังคม
การเปลี่ยนบทบาทให้คนรุ่นหลังได้
ทำหน้าที่แทนตนเอง
ผู้บริหารระดับสูง
มีผู้บริหารรุ่นต่อมาดูแลกิจการแทน
เจ้าของกิจการ
ลูกหลานเข้ามาสืบทอดกิจการแทน
การพยาบาลตามทฤษฏี
เตรียมความพร้อมก่อนเกษียณ เพื่อวางแผนดำเนินชีวิต
ทฤษฎีกิจกรรม
(Activity theory)
กิจกรรมทางสังคมมีผลต่ออัตมโนทัศน์ของผู้สูงอายุ
เลือกกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับสุขภาพ
กิจกรรมที่ทำไม่เกี่ยวข้องกับงานในอดีต
การพยาบาลตามทฤษฎี
สนับสนุนให้ใช้ความสามารถที่มีอยู่ปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวันด้วยตนเองให้นานที่สุด
กระตุ้นให้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับข้อจำกัดของร่างกาย
ส่งเสริมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณค่าในตนเอง
จิตอาสาทำกิจกรรมต่างๆ
ทฤษฎีความต่อเนื่อง
(Continuity theory)
คงไว้ซึ่งบุคลิกภาพและแบบแผนพฤติกรรมในอดีต
ผู้สูงอายุที่เคยทำสิ่งใดก็จะทำสิ่งนั้นต่อเนื่อง
ครูการงานอาชีพ
ภายหลังเกษียณ
เป็นจิตอาสาสอนการทำขนม
ทหาร
ภายหลังเกษียณ
เป็นจิตอาสาดูแลความปลอดภัยในชุมชน
การพยาบาลตามทฤษฎี
ควรประเมินบุคลิกภาพในอดีตของสมาชิกในชมรม
ควรกระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่แยกตัวได้ทำกิจกรรมตามที่ชอบ
แนวคิดของอิริกสัน
(Erikson’s Developmental Tasks)
ชีวิตแต่ละขั้นตอนของคน ต้องฟันฝ่าอุปสรรคให้สำเร็จ
เผชิญปัญหาอุปสรรคของชีวิตเพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จ
ระยะพัฒนาการ 8 ขั้น
ตั้งแต่เกิดจนถึงวัยผู้สูงอายุ
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
หลงลืมง่าย
พัฒนาการทางด้านสมองยังดี
กว่าทางด้านร่างกาย
ความจำเลอะเลือนแต่เหตุผลยังดี
ความรอบคอบลดลง
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
อารมณ์ ไม่คงที่ ชอบบ่น
พัฒนาการทางด้านสังคม
ให้ความสนใจทางศาสนา
สนับสนุนดูแลลูกหลานในครอบครัว
แนวคิดของเพค
(Peck’ Concept)
การพยาบาล
ให้ผู้สูงอายุมองอดีตของตนเองอย่างชื่นชมแทนการมอง
อนาคตที่เหลืออย่างเป็นทุกข์
ชื่นชมอดีตที่สามารถฟันฝ่าความ
ยากจน มากกว่าการมองว่ามีโรคประจำตัวที่รุมเร้า
ความพึงพอใจในตนเอง (ego differentiation)
หาความสุขทางใจมากกว่าการหมกมุ่นกับ
ข้อจำกัดของภาวะสุขภาพ