Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ภาษาในการโต้เเย้ง - Coggle Diagram
การใช้ภาษาในการโต้เเย้ง
-
โครงสร้างของการโต้แย้งคือ โครงสร้างของการแสดงเหตุผล เพราะกระบวนการโต้แย้งต้องอาศัยเหตุผลเป็นสำคัญ ซึ่งการโต้แย้งจะต้องประกอบด้วย " ข้อสรุป " และ " เหตุผล "
-
นักเรียนระดับมัธยมตอนปลายของโรงเรียนนี้ส่วนใหญ่ต้องการออกไปประกอบอาชีพ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว ( เหตุผล ) ดังนั้นโรงเรียนของเราจึงควรเปิดรายวิชาเลือก วิชาพื้นฐานอาชีพที่มีอยู่ในหลักสูตรให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ( ข้อสรุปหรือข้อเสนอทรรศนะ )
ทรรศนะที่ 2 เรายังไม่ได้สำรวจอย่างเป็นกิจจะลักษณะเลยแม้แต่ครั้งเดียวว่า เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วนักเรียนของเราในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมุ่งหมายที่จะไปทำอะไรต่อไป จะมีก็เพียงแต่การคาดคะเนเอาเองตามความรู้สึกส่วนตัวเท่านั้น ( เหตุผล )ฉะนั้นเราอาจประสบความล้มเหลวก็ได้ ถ้าเรามุ่งที่จะเปิดวิชาพื้นฐานอาชีพให้มากยิ่งขึ้นกว่าที่ได้เคยเปิดมาแล้ว ( ข้อสรุปหรือข้อโต้แย้งทรรศนะที่ 1 )
-
เนื่องจากการโต้แย้งอาจเกิดขึ้นได้ในทุกระดับของสังคมที่กล่าวมาแล้วในตอนต้นหัวข้อและเนื้อหาที่นำมาโต้แย้งกันจนเกือบจะก็ได้ว่าไม่จำกัด ขอบเขต ฉะนั้นจะต้องกำหนดขอบเขตให้ชัดว่า รถตู้เย็นกันในหัวข้อใด การโต้แย้งให้ตรงประเด็นตามหัวข้อที่กำหนดจะช่วยให้เกิดความสับสน บีบแตรสภาพการโต้แย้งให้กลายเป็นการทุ่มเถียงกันจนหาจุดจบไม่ได้ สำหรับเนื้อหาในการโต้แย้งนั้นจะต้องคอยตามหัวข้อ
เช่น หัวข้อในการโต้แย้งคือ ขอบเขตการทำงานของชมรมภาษาไทย โดยตั้งประเด็นการโต้แย้งว่า เราควรขยายขอบเขตการทำงานของชมรมภาษาไทยออกไปสู่ชุมชนภายนอกหรือไม่เนื้อหาของการโต้แย้งจะต้องเกี่ยวกับกิจกรรมของชมรม ระเบียบข้อบังคับของโรงเรียน ความพร้อมของชุมชนภายนอก ไม่ควรนำเนื้อหาอื่นมาพิจารณาในการโต้แย้งกันตามหัวข้อนี้
การวินิจฉัยเพื่อตัดสินข้อโต้แย้งแบ่งเป็น 2 แบบคือ
1 การพิจารณาเฉพาะเนื้อหาสาระที่แต่ละฝ่ายได้นำมาโต้แย้งกันไม่พิจารณานอกเหนือจากนั้นแม้ผู้วินิจฉัยจะรู้ตื่นลึกหนาบางในประเด็นปัญหาต่างๆยิ่งกว่าผู้โต้แย้งทั้งสองฝ่ายก็ตามวินิจฉัยก็ไม่นำความรู้และประสบการณ์ของตนเข้ามาใช้เลย
2 วินิจฉัยโดยใช้ดุลพินิจของตนพร้อมกับพิจารณาคำโต้แย้งของทั้งสองฝ่ายโดยละเอียดการพิจารณาด้วยวิธีการนี้แท้จริงเป็นสิ่งที่บุคคลทั่วไปกระทำอยู่แล้วเป็นปกติเช่นการตัดสินใจเลือกพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งให้เป็นผู้แทนของตนหลังจากที่ได้ฟังข้อโต้แย้งของทั้งสองพรรคมาแล้วในประเด็นเดียวกันหรือการตัดสินเพื่อลงมติในประชุมผู้ตัดสินก็ ลองใช้ดูแลชนิดของตนโดยอาศัยความรู้ประสบการณ์ที่มีอยู่แล้วมาเป็นเครื่องช่วยตัดสินไม่ใช่ตัดสินจากเนื้อหาของแต่ละฝ่ายเท่านั้นบางทีผู้ตัดสินก็ต้องมีทัศนะของตนคัดค้านหรือสนับสนุนทรรศนะของครูโต้แย้งไปด้วยโดยไม่ต้องแสดงออกมา
-
-
-
-
-
-
เมื่อประเด็นเป็นจุดสำคัญในการโต้แย้งก็จำเป็นต้องรู้จักวิธีการตั้งประเด็น ทั้งนี้เพราะการปรากฏอยู่บ่อยครั้งที่ผู้โต้แย้งหยิบยกจุดต่างๆขึ้นมาพิจารณาด้วยจิตเรานั้นไม่ใช่ประเด็นในการโต้แย้งแต่อย่างใดทำให้เกิดการโต้แย้งในการรักษาที่เรียกกันว่าออกนอกประเด็นหรือโต้แย้งในประเด็นที่ไม่ควรจะโต้แย้งนอกจากนี้ต้องรู้จักนิสัยได้อย่างมีเหตุผลด้วยว่าประเด็นที่ผู้ตั้งขึ้นนั้นน่าจะถือว่าเป็นประเด็นที่มีความสำคัญพอหรือไม่และประเด็นของการโต้แย้งตามหัวข้อที่กำลังพิจารณาอยู่อย่างแท้จริงหรือไม่ ทั้งนี้เพราะการปรากฏอยู่บ่อยครั้งที่ผู้โต้แย้งหยิบยกจุดต่างๆขึ้นมาพิจารณาด้วยจิตเรานั้นไม่ใช่ประเด็นในการโต้แย้งแต่อย่างใดทำให้เกิดการโต้แย้งในการรักษาที่เรียกกันว่าออกนอกประเด็นหรือโต้แย้งในประเด็นที่ไม่ควรจะโต้แย้งนอกจากนี้ต้องรู้จักนิสัยได้อย่างมีเหตุผลด้วยว่าประเด็นที่ผู้ตั้งขึ้นนั้นน่าจะถือว่าเป็นประเด็นที่มีความสำคัญพอหรือไม่และประเด็นของการโต้แย้งตามหัวข้อที่กำลังพิจารณาอยู่อย่างแท้จริงหรือไม่
โดยการโต้แย้งของมนุษย์เกิดจากการแสดงทรรศนะที่ไม่ตรงกันดังนั้นการตั้งประเด็นการโต้แย้งผู้โต้แย้งกันต้องรู้ตัวตลอดว่าตนกำลังโต้แย้งเกี่ยวกับศาสนาประเภทใดแล้วตั้งประเด็นให้อยู่ในเรื่องที่กำลังโต้แย้งนั้นซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทสำคัญคือ
-
-
-
การโต้แย้งการโต้แย้งประเภทที่ 3 มักมีความรู้สึกส่วนตัวแทรกอยู่เป็นเรื่อง มักมีความรู้สึกส่วนตัวแทรกอยู่เป็นเรื่องอัตวิสัย อันละเอียดอ่อนในที่นี้จึงจะกล่าวแต่วิธีการตั้งประเด็นสำหรับ 2 หัวข้อแรกเท่านั้น