Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Urinary system ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
Urinary system ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
หลอดไต หรือท่อไต (Ureters)
หลอดไตส่วนต้น (Proximal convoluted tubule : PCT)
ทำหน้าที่ 1. ดูดซึมน้ำกลับ จากน้ำเลือดท่ีกรองที่ผ่าน
จากโกลเมอรูลัส
2.สามารถดูดกลับ กรดอะมิโน น้ำตาล กลูโคส โดยกลูโคสทั้งหมดถูกดูดกลับที่ poximal tubule
สามารถขับสารบางอย่างจากหลอดไต
เช่นครีเอทนีไอโอดีนเพื่อเข้าสู่น้ำกรอง
ห่วงหลอดไต
ประกอบด้วย
ท่อตัวยูขาลง ascending limb
หน้าที่ สามารถดูดซึมโซเดียมอิออน โพเเทสเซียมเเละคลอไรต์อิออนกลับโดยทั่วไปของเหลวที่อยู่ในส่วนนี้จะเป็นของเหลวที่มีความเข้มข้นมากที่สุดในหลอดไต
ท่อตัวยูขาขึ้น descending limb
หลอดไตส่วนปลาย (Distal convoluted tubule : DCT)
เป็นท่อน้ำปัสสาวะไหลไปยังท่อไตรวม (Collecting tubule) และส่งออกไปยัง Calyx ของไต
หน้าที่ สามารถดูดน้ำกลับได้ประมาณ 10% เช่น แอมโมเนียมอิออน ไฮโดรเจนออิอนและโพเเทสเซียมอิออน
หลอดไตรวม (Collecting duct)
เป็นท่อมีขนาดใหญ่มีส่วนปลายของ หลอดไต ส่วนปลาย (distal convoluted tubules) หลายๆ ท่อมาเปิดเข้า
หน้าที่ ทำให้น้ำปัสสาวะเข้มข้นภายใต้การควบคุม
ของ Antidiuretic hormone (ADH)
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
เป็นอวัยวะที่อย่บูริเวณช่องท้องน้อย (Pelvic cavity) หลังรอยต่อของกระดูกหัวหน่าว (Symphysis pubis)
น้ำหน้าที่กักเก็บน้ำปัสสาวะ
หลอดปัสสาวะ หรือท่อปัสสาวะ(Urethra)
เพศชาย (Urethra)
ความยาว 18-20 ซม.
เร่ิมจากรูเปิดภายใน (internalorifice) ที่คอของกระเพาะปัสสาวะไปถึงรูเปิด ที่ปลายองคชาต
3 ส่วน
Penile urethra
Prostatic urethra
Membranous urethra
เพศหญิง (Urethra)
ความยาว 4 ซม.
ตั้งอยู่หลัง symphysispubis และติดกับผนังด้านหน้าของช่องคลอด(vagina)
ไต (Kidneys)
ลักษณะของไต
มี 2 ข้าง (ไตซ้ายอยู่สูงกว่า
ไตขวาเล็กน้อย)
รูปร่าง : คล้ายเมล็ดถั่ว
ตำเเหน่ง: ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้องเหนือเอวเล็กน้อย อยู่ระหว่างกระดูกสันหลังระดับ T12-L3
โครงสร้างของไต
Cortex ชั้นนอก
Renal Cortex
มีสีน้ำตาลเเดง
เเทรกเข้าไปใน pyramid เรียกว่า renal column
พบท่อหน่วยไตส่วนต้น
(renal tubule)
Parenchyma of kidney
Uriniferous tubule
ส่วนประกอบ Nephrons
Renal corpuscles
Bowman’s capsule
ทำหน้าท่ี:รองรับ glomerulus และของเสียท่ีกรองได้
ประกอบด้วยผนัง 2 ชั้น
2 more items...
Glomerulus
กลุ่มของเส้นเลือดฝอย (capillaries)
ประกอบด้วย
3 more items...
Vascular pole
เป็นทางเข้าออกของหลอดเลือด Afferent และEfferent arteriole จาก glomerulus
Urinary pole
เป็นทางติดต่อกับ proximal convoluted tubule
Renal tubules
Proximal tubule
Henle’s loop
Distal tubule
Collecting tubules
Medulla ชั้นใน
Renal medulla
พบ renal pyramid 6-12 อัน
ยอดแหลมของ pyramid เรียก renal papilla เป็นท่อเปิดของ papillary duct
ประกอบด้วยส่วน henle’s loop และ collecting duct
สรีรวิทยาของระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Renal Physiology)
หน้าที่การทำงานของไต
การรักษาสมดุล (Homeostaticfunction) Water, Electrolyte, and Acid-Base balance
การหลั่งฮอร์โมน (Endocrine (hormonal) secretory function) Renin (JG cells), Erythropoietin (Renal cortex), and Prostaglandins
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Endocrine (hormonal) metabolic function) Vitamin D3 → Active 1,25(OH)2D3
การขับถ่าย (Execratoryfunction) Metabolites, Drugs, and Toxins
การไหลเวียนเลือดของระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Blood Supply of the Kidneys)
Abdominal aorta > Renal artery > Afferent arteriole > Glomerulus > Efferent arteriole > Renal vein
การทำงานของหน่วยไต
หน่วยการทำงานของหน่วยไต
Renal tubule and Renal Corpuscle > Nephron
ลำดับการทำงานของหน่วยไต
การกรอง (Filtration) > การดูดกลับ (Reabsorption) > การหลั่ง(Secretion) > การขับถ่าย (Excretion)
ท่อไต (Renal Tubules)
ลำดับการทำงานของท่อไต
Glomerulus > Proximal tubule > Thin descending limb > Loop of Henle > Thick Ascending limb > Distal tubule > Collecting duct
การควบคุมการทำงานของไต (Renal autoregulation)
Renal blood flow > GFR > Macula densa cells (Na+ sensor) > Juxtaglomerular cells (Renin secretion) > Afferent arteriole