Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ระบบหายใจ (Respiratory system) - Coggle Diagram
กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ระบบหายใจ (Respiratory system)
Oragans of the respiratory system
ไม่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Nose/nasal cavity
Pharynx
Nasopharynx
Oropharynx
Larygophagorynx
Larynx
Thyroid cartilage 1 คู่
Cricoid cartilage 1 คู่
Epiglottis1 คู่
Arytenoid cartilage 1 คู่
Corniculate cartilage 1 คู่
cureiform cartilage 1 คู่
trachea
กระดูกอ่อนเป็นรูปวงแหวน คล้ายตัว C จำนวน 16-20 ชิ้น
Bronchus (bronnchi)
Bronchiole
terminal bronchiole
มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Respiratory bronchioles
Alveolar duct
Alveolar sac
ประมาณ 100 ถุง
Alveoli
ปอดคนปกติมีประมาณ 300 ล้านถุง
ปอด (Lungs)
เยื่อหุ้มปอด (Pleura)
ชั้นนอกติดผนังกับทรวงอก เรียก perietal pleura
ชั้นในติดกับผิวหนังของปอด เรียก visceral pleura
ปอดขวา (Right lung)
Upper lobe
Middle lobe
Lower lobe
ปอดซ้าย (Left lung)
Upper lobe
Lower lobe
Bronchopulmonary segment
ปอด 2 ข้าง มีข้างละ 10 Bronchopulmonary segment
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงปอด (Blood supply to the lung)
Rt.Pulmonary artery
Rt.Superior pulmonary vein
Rt.inferior polmonary vein
Pulmonary trunk
Lt.Polmonary artery
Lt.Superior pulmonary vein
Lt.inferior polmonary vein
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงปอด
Parasympathetic จากเส้นประสาท vagus ทำให้หลอดลมหดตัว
Sympathetic จาก sympathetic trunk และ cardiac plexus ทำให้หลอดลมขยายตัว
กลไกการหายใจ (Mechanics of breathing)
การหายใจ (Breathing)
การหายใจเข้า
กล้ามเนื้อที่ใช้
Diaphragm
External intercostals muscle
การหายใจออกแบบใช้พลังงาน
เป็นการหายใจออกแรงๆ เช่นในผู้ที่ออกกำลังกาย หรือในผู้ป่วยที่มีทางเดินอากาศตีบแคบ
กล้ามเนื้อที่ใช้
Abdominal muscle
Internal intercostal muscle
การหายใจเข้าที่ลึกและแรง
เช่น ขณะออกกำลังกาย ขณะไอ จาม หรือผู้ป่วยโรคหอบหืด
กล้ามเนื้อที่ใช้
Sternocleidomastoid
Scalenus
ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาตรปอด
ขนาด
อายุ
เพศ
การออกกำลังกาย
ท่าทาง
พยาธิสภาพของปอด
ปริมาตรปอด (Lung volume)
ปริมาตรหายใจปกติ (Tidal volume = VT)
ปริมาตรการหายใจเข้าออกจากปอดแต่ละครั้งในการหายใจปกติ ประมาณ 500 มล./ครั้ง
ปริมาตรหายใจเข้าสำรอง (Inspiratory reserve volume = IRV)
ปริมาตรอากาศเกินจากปริมาตรหายใจเข้าปกติ ในการหายใจเข้าเต็มที่ 1 ครั้ง มีค่าประมาณ 3100 มล.
ปริมาตรหายใจออกสำรอง (Expiratory reserve volume = ERV)
ปริมาตรอากาศที่เกินจากปรืิมาตรหายใจออกปกติ (TV) ในการหายใจออกเต็มที่ 1 ครั้ง มีค่าประมาณ 1200 มล.
ปริมาตรตกค้าง (Residual volume = RV)
ปริมาตรอากาศที่ยังเหลืออยู่ในปอดหลังหายใจออกเต็มที่ ทีค่าประมาณ 1200 มล.
ความจุหายใจเข้า (Inspiratory capicity = IV)
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าเต็มที่หลังหายใจเข้าเต็มที่ หลังหายใจออกปกติ เป็นผลรวมของ TV+IRV =มีค่าประมาณ 3600 มล.
ความจุปอดปกติ (Vital capacity = VC)
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าเต็มที่ หลังหายใจออกเต็มที่ เป็นผลรวม TV+IRV+ERV มีค่าประมาณ 4800 มล.
ความจุปอดเหลือค้าง (Functional residual capacity = FRC)
ปริมาตรอากาศที่อยู่ในปอดหลังหายใจออกปกติ ค่านี้เป็นผลรวมของ ERV+RV มีค่าประมาณ 2400 มล.
ความจุปอดรวม (Total lung capacitty = TLC)
ปริมาตรอากาศทั้งหมดที่ปอดหลังจากหายใจเข้าเต็มที่ มีค่าเท่ากับ VC+RV มีค่าประมาณ 6000 มล.
ศูนย์หายใจ (Redpiratory center)
Meduula respiratory center
Dorsal respiratory group : DRG
ศูนย์การหายใจเข้า
Ventral respiratory group : VRG
ศูนย์การหายใจออก
ศูนย์การหายใจพอนด์ (Pons respiratory center)
apneustic center
ทำให้เกิดการหายใจเข้ายาวนานขึ้น
pnueumotexic center
ควบคุมปริมาตรและอัตราการหายใจ