Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน, นางสาวปิยนุช ณ คำตัน รหัส 611120401 …
องค์ประกอบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
องค์ประกอบที่ 5
การนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงาน
เป็นส่วนหนึ่งของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
นักเรียน เยาวชน จะมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณของท้องถิ่น ตระหนักเห็นคุณค่าของสรรพสิ่ง สรรพชีวิต มีการศึกษาค้นคว้าอันก่อให้เกิดผู้เชี่ยวชาญระดับท้องถิ่น
จะเป็นแหล่งข้อมูลพืชพรรณและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่่กระจายทั่วประเทศ ในเขตการศึกษาต่างๆ
เมื่อนักเรียน เยาวชน ได้ซึมซับเกี่ยวกับพืชพรรณ ใกล้ชิดธรรมชาติ ก่อให้เกิดจิตใจที่อ่อนโยน มีสมาธิในการเรียน การทำงาน ผลงาน ผลการเรียน ดีขึ้น
เกิความร่วมมือ ร่วมใจ ระหว่างระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
การนําสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการในการเรียนการสอน
วิชาสังคมศึกษา
การเปรียบเทียบสังคมพืชกับสังคมมนุษย์
วิชาภาษาไทย
การเขียนชื่อต้นไม้ หัดอ่าน สะกดคำ ออกเสียง สร้างประโยค
วิชาคณิตศาสตร์
อาจจะใช้ในเรื่องของการตั้งโจทย์ โดยการบวกลบคูณหารโดยใช้ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นโจทย์
วิชาศิลปศึกษา
การนําสีจากส่วนต่างๆ ของพืชมาใช้ในงานศิลปะ การพิมพ์ภาพใบไม้
วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ
ฝึกให้นักเรียนเกิดนิสัยรักการทำงาน
วิชาเกษตร
การรวบรวมพันธุ์ไม้มาปลูกในโรงเรียน โดยเน้นพรรณไม้ท้องถิ่นเป็นหลัก
วิชาคหกรรม
การประกอบอาหารจากพืช การแปรรูปผลไม้
วิชาภาษาตางประเทศ
การอ่าน พูดชื่อต้นไม้ หรือส่วนประกอบของต้นไม้ คําศัพท์
วิชาวิทยาศาสตร์
นําพรรณไม้ที่มีหลายหลากมาเปนตัวอยางของจริง ใช้ประกอบในการเรียนการสอน
วิชาพลานามัย
นักเรียนแต่งเพลงเกี่ยวกับพรรณไม้ บรรยายความงามและคุณค่า
วิชาพลศึกษา
การวิ่งเปรี้ยว เขียนชื่อต้นไม้
วิชาสุขศึกษา
นำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนมาใชในการเรียนเรองพรรณไม้ที่ใช้เป็นยารักษาโรค
องค์ประกอบที่ 1
การจัดทําป้ายชื่อ
ขั้นตอนการจัดทำป้ายชื่อ
สำรวจ ติดชื่อพื้นเมือง และเลขหมายประจำต้น
การศึกษาโครงสร้างส่วนประกอบ และการจำแนกชนิดพืช โดยใช้เอกสารการศึกษาพรรณไม้ ก 7-003
การจัดทำตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
การจัดทำผังพรรณไม้
การจัดทำทะเบียนพรรณไม้
การจัดทําป้ายชื่อพรรณไม้ที่สมบูรณ์
“รู้ลักษณ์ รู้ชื่อ รู้จัก”
ให้นักเรียนรู้จักชื่อ จากการสัมผัส การสังเกตพรรณไม้ หรือปัจจัยที่ศึกษา เช่นเมื่อเห็นพรรณไม้ชนิดหนึ่งดอกคล้ายแตร สีแดง อาจซื่อดอกแตรแดง ตั้งไว้ก่อนแล้วจึงศึกษาเรื่องอื่นๆ
การที่จะหาชื่อ เพื่อให้สื่อให้เข้าใจตรงกัน ต้องทราบชื่อประจําถิ่น เมื่อทราบชื่อ ก็เก็บรักษาตัวอย่างไว้เป็นพรรณไม้แห้ง ใช้อ้างอิง สืบค้นชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้ การสืบค้นชื่อนั้นต้องมีการเรียนรู้ส่วนอื่น ๆ ต่อไป เช่น การศึกษาลักษณะวิสัย รูป ทรง สี กลิ่น ตามแบบการเรียนรู้
องค์ประกอบที่ 2
การรวมพันธุ์ไม้นำเข้าปลูกในโรงเรียน
การรวบรวมพันธุ์ไม้เข้าปลูกในโรงเรียนอาจเป็นพืชในกลุ่มที่สนใจโดยเน้นพืชพรรณไม้ในท้องถิ่น ซึ่งอาจมีการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้ชื่อที่ถูกต้องตามวิธีการ จัดทำป้ายชื่อ โดยมีการบันทึกแหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้ประโยชน์ของท้องถิ่น จะเป็นองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น พืชผักพื้นเมือง สมุนไพร
การดำเนินการเพื่อสร้างสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
การไปเก็บรวบรวมพรรณไม้ท้องถิ่น
การปลูกพรรณไม้และการดูแลบำรุงรักษา
การจัดทำผังภูมิทัศน์และการออกแบบภูมิทัศน์
การรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
รวบรวมข้อมูลและภูมิปัญญาท้องถิ่น
องค์ประกอบที่ 3
การศึกษาข้อมูลในด้านต่างๆ
"ธรรมชาติแห่งชีวิต"
รู้การเปลี่ยนแปลง รู้ความแตกต่าง รู้ชีวิต" ศิษย์จะรู้ว่าความต่างที่เกิด เหมือนหรือต่างกับชีวิตตนอย่างไร เด็กจะรู้ชีวิต การที่จะรู้ เริ่มจากสภาวะของโตเต็มวัย เริ่มจากต้นไม้ที่สมบูรณ์ ให้ดูธรรมชาติของปัจจัยที่ศึกษา
"สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว"
" รู้สัมพันธ์ รู้ผูกพัน รู้ดุลยภาพ" เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อมีชีวิต ไม่สามารถอยู่คนเดียวในโลกได้ ต้องมีชีวิตอื่น สิ่งอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง รวมทั้งกายภาพอุณหภูมิ ความชื้น แสง
"ธรรมชาติการเรียนรู้"
การศึกษาเพื่อให้เกิดธรรมชาติการเรียนรู้ ความหลายหลาก และธรรมซาติแห่งชีวิต การศึกษาด้านชีววิทยา นิเวศวิทยา การปลูกเลี้ยง การขยายพันธุ์ การศึกษาธรรมชาติแห่งชีวิต รู้การเปลี่ยนแปลงรู้ความแตกต่าง
"ประโยชน์แท้แก่มหาชน"
เมื่อมีองค์ความรู้เกิดขึ้น ศักยภาพขององค์ความรู้นั้นเห็นศักยภาพแต่ละส่วน การสัมผัสต่างๆ มีศักยภาพอย่างไร
รู้ศักยภาพแต่ละส่วนแต่ละตอน มองสูจินตนาการ นำสู่ประโยชน์ที่จะเกิด เห็นคุณที่เกิดแก่ตน แก่ครอบครัว
สังคม และแก่มหาชนประเทศชาติ
องค์ประกอบที่ 4 การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานผลการศึกษา
มาเขียน รายงานแบบวิชาการ
ประกอบด้วย
ศึกษาต่อเนื่องให้ได้ข้อมูลถูกต้องชัดเจน
นําเสนอ
เกิดผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่นของพืชชนิดนั้น ๆ
ข้อมูลเก็บในมุมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
รายงาน
นางสาวปิยนุช ณ คำตัน รหัส 611120401
โปรแกรมวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์