Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 สหสัมพันธ์, นายธนกร เอกบุตร 62021000 - Coggle Diagram
บทที่ 4 สหสัมพันธ์
Norms (เกณฑ์ปกติของแบบทดสอบ)
คะแนนที่ถูกนำมาเปรียบเทียบกับคะแนนของบุคคล เรียกว่า Norms
Norms ทำหน้าที่เป็นมาตรฐานในการแปลความหมายของคะแนน
Norms ได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เรียกว่า “normative sample”
Normative Sample or Standardization Sample
กลุ่มคนที่คะแนนถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อใช้เป็นคะแนนอ้างอิง ในการประเมินผล
ประเภทของ Norms
Percentiles
ตำแหน่ง หรือจุดที่แบ่งพื้นที่ใต้โค้งของการแจกแจงออกเป็น 100 ส่วน เท่าๆกัน
ก สอบได้ Percentile ที่ 75 เรียกว่า
Percentile rank เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ P75
P75 ตรงกับคะแนนที่ 28 ค่าของคะแนนนี้เรียกว่า ค่า Percentile ณ ตำแหน่งนั้น
การแปลความหมาย ก สอบได้P75 หมายความว่า ใน 100 คน มีคนสอบได้คะแนนน้อยกว่า ก 75 คน
Age Norms
แสดงให้เห็นถึงคะแนนเฉลี่ย/ปกติ ของผู้ถูกทดสอบที่มีอายุต่างกัน
Grade Norms
เกณฑ์ปกติที่ใช้บอกคะแนนเฉลี่ย ที่ได้จากการทดสอบในระดับชั้นเรียนใดๆ
National Norms
ได้มาจากกลุ่มตัวอย่างมาตรฐานที่เป็นตัวแทนประชากรของคนทั้งชาติ
National norms อาจได้มากจากการนำแบบทดสอบ ไปทดสอบนักเรียนกลุ่มใหญ่ที่เป็นตัวแทนของตัวแปรต่างๆที่นักวิจัยสนใจ
SES
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ลักษณะชุมชน
National anchor norms
มี test หลาย test ที่ใช้วัด
ลักษณะ
ความสามารถของมนุษย์
ต้องการเปรียบเทียบ BRT กับ XYZ
ตารางแสดงการเปรียบเทียบ BRT กับ XYZ เรียก “equivalency table”
Normative sample ถูกแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ(segment) โดยใช้เกณฑ์เดียวกับการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ผลจากการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็นส่วนๆ คือ subgroup norms
Local Norms
เกณฑ์ปกติของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของแต่ละโรงเรียน
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เขียนแทนด้วย r หมายถึง ความสัมพันธ์เชิงเส้น ระหว่างตัวแปร 2 ตัว
r(xy) เป็นตัวเลขที่เป็นดัชนีที่แสดงให้เห็นว่า x สัมพันธ์กับ y เช่น r = +.90
r มีทั้งขนาด(magnitude) และทิศทาง(sign)
เวลาแปลความหมายต้องแปลทั้งขนาดและทิศทาง
r มีค่า อยู่ระหว่าง+1 ถึง-1
กราฟแสดงความสัมพันธ์ - ใช้แสดง/แทนความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y มีชื่อเรียกหลายชื่อ
A bivariate distribution
A scatter diagram
A scatter gram
A scatter plot (นิยม)
Pearson Correlation
Pearson product-moment correlation
Pearson r
Pearson Correlation coefficient
The spearman rho
a rank-order correlation coefficient
a rank-difference correlation coefficient
spearman’s rho
คิดโดย Charles Spearman นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ
ใช้เมื่อข้อมูลอยู่ในระดับ ordinal scale และ เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็กลง
ระดับและทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างของ 2 สิ่ง
ข้อมูลที่จะนำมาหา Correlation ต้องเป็นข้อมูลต้องออกมาจากสิ่งหนึ่งเป็นคู่ๆ
เช่น ต้องการหาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนสูง และน้ำหนัก ของนักเรียน 10 คน
ส่วนสูงต้องมาจาก ส่วนสูงของคนที่ 1, 2, 3, …,10
น้ำหนักต้องมาจาก น้ำหนักของคนที่ 1, 2, 3, …,10
นายธนกร เอกบุตร 62021000