Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฏีพัฒนาบุคลิกภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฏีพัฒนาบุคลิกภาพ
-
-
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
- ขั้นปาก coralstage)
-เด็กในระยะ 1 ขวบปีแรก ทารกพึงพอใจ กับ การใช้ปากทำกิจกรรมเพื่อให้เกิดความสุข เช่น การดูดกลืน กัด เคี้ยว แทะ
-Oraepersonality คือ จะเป็น ผู้ที่มี ความต้องการที่จะหาความพึงพอใจทางปาก อย่างไม่จำกัด มีลักษณะพูดมาก ชอบดูดนิ้ว ดินสอ หรือปากกาเสมอโดยเฉพาะเวลาที่มีความเครียดนอกจากนี้ยังชอบนินทาว่าร้าย ถากถาง เหน็บแนม เสียดสี ผู้อื่น ก้าวร้าว พูดมาก กิน จุบจิบ ติดเหล้า บุหรี่ เคี้ยวหมากฝรั่ง เป็นประจำ
2 ขั้นทวารหนัก Analstage
-เด็ก ระยะ 2 ขวบ
-เด็ก จะมีความ สุข กับการปลดปล่อยและกลั้นไว้
-Anal Personality คือ เป็นคนเจ้าระเบียบ เข้มงวดไม่ยืดหยุ่น ตระหนี่ หึงหวงคู่สมรสมากเกินไป และมีอารมณ์ เครียดตลอดเวลา หรืออาจมีบุคลิกภาพตรงข้ามคืออาจเป็นคนใจกว้าง สุรุ่ยสุร่าย ไม่เป็นระเบียบ
3 ขั้นอวัยวะสืบพันธุ์ ( Phaffic sfag e)
-เด็กอายุ ระหว่าง 3- 5 ปี
-อวัยวะสืบพันธุ์เป็นแหล่งความสุขของเด็ก
-ระยะนี้เด็กชายจะเกิดปมออดิปุส ( Odipus Complex )
-เด็กหญิง จะเกิดปมอิเลิกตรา ( Electra hef Comple )
4 ระยะแฝง (Latencyslage)
-เกิดในเด็กอายุประมาณ 6-12ปี
-ความรู้สึกทางเพศถูกแทนที่ด้วยความรู้สึกรัก และ เกลียด
-เด็กจะใช้เวลานานมากขึ้นกับเพื่อนในเพศเดียวกัน
5 เริ่มวัยรุ่น
-อายุประมาณ 13-20ปี
-พัฒนาการไปสู่การมี
วุฒิภาวะทางเพศกับเพศตรงข้าม
-เรียนรู้การรักคนอื่น
องค์ประกอบของจิต
ld = หาความ สุขสำราญ /ความก้าวร้าว /
สัญชาตญาณ
Ego=พฤติกรรมตามหลัก ความเป็นจริง
Super ego=พฤติกรรมส่วนมาตรฐานถ่ายทอดมาจากค่านิยมมาตรฐานทางจริยธรรม
สรุป
สรุป แล้วทฤษฎีของฟรอยด์ เป็นทฤษฎีที่มีอิทธิพล มากทั้งทางตรง และ ทางอ้อม ผู้ที่มีความ เชื่อในทางทรงฟรอยดนำหลักการต่างๆ ไปใช้ในการรักษา คนที่มีปัญหาทางบุคลิกภาพส่วนจิตวิทยาที่ไม่ใช้หลักจิตวิเคราะห์ ก็ได้นำความคิดของฟรอยด์ไปทำงานวิจัย เกี่ยวกับพัฒนาการทางบุคลิกภาพจึงนับว่าฟรอยด์เป็นนักจิตวิทยาผู้มีอิทธิพลมากต่อพัฒนาการของวิชาจิตวิทยา
-
-
จิตวิทยากลุ่มจิตวิเคราะห์
-ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ
-ให้ความสำคัญกับจิตใต้สำนึกและกระบวนการของจิตใต้ยังนึก
-มนุษย์มีพลังงานอยู่ในตัวตั้งแต่เกิดเรียกว่า"libido"ซึ่งทำให้บุคคลอยากมีชีวิต เป้าหมายคือ ความสุข และความพอใจ โดยมีอวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่ไงต่อควา,รู้สึก
( erogenous zone ) ซึ่งมีความพึงพอใจในส่วนต่างๆ ของร่างกายจะเป็นไปตามวัย
ฟรอยด์ชื่อว่า ความคับข้องใจ เป็นพื้ยฐาน สำหรับพัฒนาการทางบุคลิกภาพ แต่ต้องมีจำนวนพอเหมาะที่จะพัฒนา Ego แต่ถ้ามีความคับข้องใจ มาก เกินไป ก็จะ เกิดมีปัญหา และทำให้เกิดกลไกในการป้องกันตัวย (Defense Mechanism)ซึ่งทุกช่วงวัยได้ใช้กลไกนี้
ประวัติ ซิกมันด์ ฟรอยด์ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) จิตแพทย์ชาวออสเตรีย เชื้อสายยิว เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2399 ในจักรวรรดิออสเตรียซึ่งปัจจุบันคือ สาธารณรัฐเช็ก และเสียชีวิตวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2482 รวมอายุ 83 ปี ครอบครัวมีอาชีพขายขนสัตว์ มีฐานะปานกลางซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) สนใจด้านวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่เด็ก เรียนจบจากมหาวิทยาลัยเวียนนาสาขาวิทยาศาสตร์ แล้วเรียนต่อสาขาแพทยศาสตร์ จากนั้นได้ไปศึกษาต่อด้านโรคทางสมองและประสาทที่กรุงปารีสกับหมอผู้เชี่ยวชาญด้านอัมพาต ที่นั่นฟรอยด์ได้ค้นพบว่าความจริงแล้วคนไข้บางรายป่วยเป็นอัมพาตเนื่องจากภาวะทางจิตใจไม่ใช่ร่างกาย
ประวัติของอิริคสัน
อิริคสันเกิดเมื่อปี ค.ศ.1902 เป็นนักจิตวิเคราะห์ที่มีชื่อของอเมริกาและจัดอยู่ในกลุ่มฟรอยด์รุ่นใหม่ เกิดที่เมืองแฟรงเฟิต ประเทศเยอรมันต่อมาได้ย้ายไปอยู่ประเทศอเมริกาในปี ค.ศ. 1933 และเป็นผู้วิเคราะห์เกี่ยวกับเด็กเป็นคนแรกในนครบอสตัน เห็นว่าการจะทำความเข้าใจพฤติกรรมเด็กจะต้องศึกษาจากการอบรมเลี้ยงดู สภาพสังคม และความเป็นอยู่ของเด็ก ปัญหาที่นำมาวิเคราะห์นั้นจะอธิบายเชื่อมโยงระหว่างจิตวิทยากับสังคมวิทยาในรูปแบบของมนุษย์วิทยา ซึ่งมีแนวความคิดว่ามนุษย์ต้องพึ่งสังคมและสังคมก็ต้องพึ่งมนุษย์มนุษย์มีวิวัฒนาการที่สลับซับซ้อนและผ่านขั้นตอนต่าง ๆ ของธรรมชาติหลายขั้นตอน
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริกสัน
ทฤษฎี Psychosocial development ของ Erik H. Erikson อธิบายถึงลักษณะของการศึกษาไปข้างหน้า โดยเน้นถึงสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของคน ซึ่งในแต่ละขั้นของพัฒนาการนั้นจะมีวิกฤติการณ์ทางสังคม (social crisis) เกิดขึ้น การที่ไม่สามารถเอาชนะหรือผ่านวิกฤติการณ์ทางสังคมในขั้นหนึ่ง ๆ จะเป็นปัญหาในการเอาชนะวิกฤติการณ์ทางสังคมในขั้นต่อมา ทำให้เกิดความบกพร่องทางสังคม (social inadequacy) และเป็นปัญหาทางจิตใจตามมาภายหลัง