Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1․โรคหัวใจ (Heart Disease) - Coggle Diagram
1․โรคหัวใจ (Heart Disease)
การเปลี่ยนแปลงขณะตั้งครรภ์
ปริมาณเลือดเพิ่ม
cardiac output, stroke rate และ stroke volume เพิ่มขึ้น
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่ม 10-15 ครั้ง/นาที
ตำแหน่งของหัวใจเปลี่ยนแปลง
ต้องการออกซิเจนเพิ่ม
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
การวินิจฉัยยากขึ้น
โรคหัวใจรุนแรงขึ้นขณะตั้งครรภ์
⇒ ระดับความรุนแรงมากขึ้น หัวใจล้มเหลวบ่อย
ไข้รูห์มาติค
⇒อาจจะกลับเป็นซ้าบ่อยขึ้นขณะตั้งครรภ์
โรคลิ้นหัวใจ
⇒เกิด bacterial endocarditis (BE) ขณะคลอด
หรือการใช้หัตถการช่วยคลอด
การตั้งครรภ์
⇒ cardiomyopathy ในระยะหลังคลอดได้
ความรุนแรงของโรคหัวใจ
ในหญิงตั้งครรภ์
Class I ไม่มีอาการ
Class II มีอาการเมื่อทำงานมาก / ออกกำลังกาย
Class III ทำงานหนักไม่ได้
Class IV อยู่เฉยๆ ก็เหนื่อย
การวินิจฉัยโรคหัวใจ
ในมารดาตั้งครรภ์
อาการหายใจลำบากที่รุนแรง หรือเป็นช่วงตอนกลางคืน
อาการนอนราบไม่ได้
ไอเป็นเลือด
เป็นลมเมื่อออกแรง เหนื่อยง่ายมาก
เจ็บอกที่สัมพันธ์กับการพยายามออกแรง หรืออารมณ์
อาการและอาการแสดง
Dyspnea
Orthopnea
Paroxysmal nocturnal dyspnea เกิดจาก ศูนย์ควบคุมการหายใจในสมองทำงานลดลง
Hemoptysis
Systolic/Diastolic
ใช้ stethoscope ได้ยินเสียง murmur
Cardiomegaly
Arrhythmia
Cyanosis
Clubbing of finger
ผลของโรคหัวใจต่อหญิงตั้งครรภ์
เครียด
ระยะการคลอดยาวนาน
อันตรายจากการผ่าตัดคลอด และการให้ยาระงับความรู้สึก
ผลของโรคหัวใจต่อทารก
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์
ทารกเติบโตช้าในครรภ์
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Class I และ Class II
การพักผ่อนอย่างเพียงพออย่างน้อย
วันละ 10 ชั่วโมง และ ½ -1 ชั่วโมง หลังอาหาร
ทำงานเบา ๆ และเดินออกกาลังกาย ตามความเหมาะสม
ระมัดระวังการเพิ่มของน้ำหนักตัวที่มากเกินไป
⚠หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ที่เป็นหวัด ควรมาพบแพทย์เมื่อมีการติดเชื้อ
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน
อาการท้องผูก
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Class III และ Class IV
⚠ควรหลีกเลี่ยงการตั้งครรภ์ ถ้าตั้งครรภ์
ต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์และปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งครัด
⚠ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคหัวใจได้ แพทย์ก็จะพิจารณาทำแท้งเพื่อการรักษา
❇หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Class IV ต้องทำแท้งเพื่อการรักษา
การพยาบาลระยะก่อนตั้งครรภ์
โรคหัวใจ class III และ IV
ที่ไม่สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้
❇ไม่ควรให้ตั้งครรภ์
❇กรณีที่ใส่ prosthetic valve ต้องกิน
anti –coagulant ตลอดชีวิต ไม่ควรตั้งครรภ์
ปรึกษาก่อนตั้งครรภ์
สามารถตั้งครรภ์ได้
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
ระวัง Heart failure
พักผ่อนให้เพียงพอ นอนตะแคงซ้าย ศีรษะสูง
นัดตรวจครรภ์บ่อยขึ้น
ไม่จำเป็นต้องจากัดเกลือ
การพยาบาลระยะคลอด
ระวัง Heart failure
ระวัง circulatory overload
ให้คลอดเมื่อพร้อม
ระวังการติดเชื้อ
❌เลี่ยงการใช้ Methergin
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ในรายที่อาการไม่รุนแรง
การคุมกำเนิด
กรณีทำหมัน ❇ควรทำ หลังคลอดแล้ว 7 วัน
❌ห้ามใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด
ใช้ห่วงคุมกำเนิด ⚠ระวังการติดเชื้อ