Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anemia - Coggle Diagram
Anemia
การตรวจวินิจฉัย
- Complete blood count (CBc) ดูค่าHb, Het ว่าซีดตามเกณฑ์อายุ white cells และplatclets ต่ำหรือสูงกว่าปกติหรือไม่เช่นถ้าเป็นลักษณะ pancytopenia ให้วินิจฉัยแยกไรค aplastic anemia เป็นต้น นอกจากนั้นการพิจารณา red cell indices เช่น MCV ตามเกณฑ์อายุ จะช่วยการวินิจฉัยภาวะชีคได้ง่ายขึ้นดังนี้
แบ่งโดย
1) Mean corpuscular volume (MCV) แสดงขนาดเม็ดเลือดแดง โดยทั่วไปค่าปกติระหว่าง 80-100 femto liter (fL) MCV ต่ำกว่าค่าปกติพบในกลุ่ม microcytic ancmia ให้คิดถึงภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กและ โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
3) Mean corpuscular hemoglobin concentration (MCHC) เป็นค่่าเฉลี่ยเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ค่าปกติ 33 (g/dL) ค่าสูง (>35 g/dL) พบใน spherocytosis และค่าต่ำพบใน iron defiency anemia
-
- Bloood smear โดยการย้อมสี Wright ของเม็ดเลือดแดง ถ้ามีการติดสีตรงกลางระหว่างช่องว่ามากกว่า 1/3 ของขนาดเซลล์เม็ดเลือดแดง เรียกว่า hypochromia ซึ่งพบได้ใน iron dificiency anemia และ Thalassimia
- Reticulocyte count ค่าปกติจะอยู่ 1-2%
- coomb's test ส่งตรวจในรายที่สงสัย hemolytic anemia เช่น ภาวะซีด เหลือง ม้ามโตและ reticulocyte>2%
- การาตรวจไขกระดุก ในรายที่มีข้อบ่งชี้ เช่น cbc พบลักษณะ pancytopenia หรือผู้ป่วยเป็น refractory anemia
- การตรวจอื่นๆ เช่น Bun creatinine ในรายที่มีภาวะซีดจากการที่ไตวายหรือตรวจ tryroid function test ในรายที่สงสัยมีภาวะซีดจาก hypothyroid
การพยาบาล
- ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะซีด ได้แก่ ค่าความเข้มข้นเม็ดเลือดแดง อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่มีแรง เวียนศีรษะ หอบ ง่วงซึม หัวใจเต้นเร็ว ปลายมือปลายเท้าซีด
- ให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อนเพื่อลดการใช้ออกซิเจนโดยไม่จำเป็น จะช่วยเพิ่มออกซิเจนให้ร่างกาย
- แนะนำการปรับเปลี่ยนท่าอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
- กระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานที่มีประโยชน์ต่อการสร้างเม็ดเลือด เช่น ผักใบเขียว เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง นม
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อช่วยการสร้างเม้ดเลือดอย่างเคร่งครัด
- ดูแลให้ได้รับเลือดในรายที่มีภาวะซีดรุนแรง
สาเหตุ
- ขาดสารอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ธาตุเหล้ก วิตามินบี 12 กรดโฟลิค
- โรคไตวายเรื้อรัง ทำให้ขาดปัจจัยในการกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
-
-
- การทำลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้นในร่างกาย
- การเสียเลือดอาจเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
-
-
เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ ภาวะนี้พบได้บ่อยในประชากรทั่วไป เม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ในการนำออกซิเจนไปให้เซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกาย การที่เม็ดเลือดแดงลดลงจึงส่งผลให้เกิดความผิดปกติได้หลากหลาย ตั้งแต่อาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย วูบ หมดสติ หากโลหิตจางรุนแรงอาจส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ หัวใจทำงานมากขึ้นจนถึงขั้นหัวใจล้มเหลวได้อาการต่างๆ อาจเกิดมากน้อยแตกต่างกันในแต่ละคน ขึ้นอยู่กับระดับของเม็ดเลือดแดงในร่างกายและความสามารถในการปรับตัวต่อภาวะโลหิตจางของแต่ละคน