Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาการบุคลิกภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีพัฒนาการบุคลิกภาพ
พัฒนาการทางบุคลิกภาพอารมณ์และสังคม
Erik H. Erikson
ขั้นที่ 5 อายุ 12-20 ปี การเข้าใจตนเอง
หรือการสับสนในบทบาทของตนเอง
สนใจตนเองมากเป็นพิเศษ
ไม่แน่ใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง
มีความเจริญเติบโต โดยเฉพาะทางด้านร่างกายเหมือนกับผู้ใหญ่ทุกอย่าง
ขั้นที่ 6 อายุ 20-40 ปี การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
หรือความรู้สึกโดดเดี่ยวแยกจากผู้อื่น
รู้จักตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร
เป็นวัยที่พร้อมที่จะมีความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศในฐานะเพื่อนสนิทที่จะเสียสละให้กันและกัน
ขั้นตอนที่ 4 อายุ 6-12 ปี ความกระตือรือร้น
ขยันหมั่นเพียร หรือความรู้สึกด้อย
วัยนี้ ถ้าทำอะไรได้รับผลดี จะภาคภูมิใจ แต่ถ้าผิดหวังจะเกิดความรู้สึกด้วย
มีความต้องการที่จะทำสิ่งต่างๆ มือไม่เคยว่าง
ขั้นที่ 7 อายุ 40-60 ปี ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น
หรือความรู้สึกหมกหมุ่นกับปัญหาของตนเอง
เป็นวัยที่เป็นห่วงเพื่อนร่วมโลก อยากจะให้ความรู้ สั่งสอนคนรุ่นหลังต่อไป
แต่งงาน สร้างครอบครัว
ขั้นที่ 3 อายุ 3-5 ปี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หรือความรู้สึกผิด
เด็กมีความคิดริเริ่มอยากจะทำอะไรด้วยตนเอง
ผู้ใหญ่ควรอธิบายด้วยถ้อยคำง่าย ชี้แจ้งเหตุผล สิ่งควรไม่ควร ก็จะช่วยพัฒนาสติปัญญาและความคิด
ขั้นที่ 8 อายุ 60 ปีขึ้นไป
ความรู้สึกสงบสุข หรือความรู้สึกท้อแท้สิ้นหวัง
วัยนี้ถ้าช่วงต้นๆ มีพัฒนาการมาดีจะเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ มีความรับผิดชอบสูง กล้าเผชิญปัญหา
เป็นผลรวมของวัย 7 วัยที่ผ่านมา
มีความพอใจในชีวิตของตน
ขั้นที่ 2 อายุ 2-3 ปี ความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองหรือ
ความรู้สึกเคลือบแคลงสงสัย
เด็กมีความอิสระ พึ่งตัวเองได้ และมีความอยากรู้อยากเห็น อยากจับต้องสิ่งของต่างๆ
ผู้ใหญ่ผ่อนปรนให้เขาช่วยเหลือตัวเองเรื่องกิน แต่งตัว ทำอะไรนิดๆ หน่อยๆ เขาจะรู้สึกมั่นใจในตนเอง
ขั้นที่ 1 อายุ 0-2 ปี
ความรู้สึกไว้วางใจหรือรู้สึกไม่ไว้วางใจ
ต้องการได้รับการตอบสนองด้วยดี ได้รับความอบอุ่น
เพื่อพัฒนาความไว้วางใจ ซึ่งจะพัฒนาไปสู้ความเป็นผู้ใหญ่ที่มองโลกในแง่ดี
สรุป
บุคลิกภาพด้านความเชื่อมั่น ความกล้า ความมานะอดทน ความกระตือรือร้น มีที่มาจากการได้อยู่ใน
สิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น ให้กำลังใจ ให้โอกาส ยอมรับ
และสนับสนุนให้ได้รับความสำเร็จ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ Sigmund Freud
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ระยะแฝง (Latency Stage)
ความรู้สึกทางเพศถูกแทนที่ด้วยความรู้สึกรักหรือเกลียด
อายุประมาณ 6-12 ปี
จะใช้เวลานานมากขึ้นกับเพื่อนในเพศเดียวกัน
ขั้นทวารหนัก (Anal Stage)
เด็กจะมีความสุขกับการปลดปล่อยและกลั้นไว้
เด็กระยะ 2 ขวบ
เริ่มวัยรุ่น (Genital Stage)
เรียนรู้การรักคนอื่น
พัฒนาการไปสู่การมีวุฒิภาวะทางเพศกับเพศตรงข้าม
อายุประมาณ 13-20 ปี
ขั้นปาก (Oral Stage)
เด็กในระยะ 1 ขวบปีแรก
พึงพอใจกับการใช้ปากทำกิจกรรม เพื่อให้เกิดความสุข
ขั้นอวัยวะสืบพันธุ์ (Phallic Stage)
อวัยวะสืบพันธุ์เป็นแหล่งความสุขของเด็ก
อายุระหว่าง 3-5 ปี
เด็กหญิงจะเกิดปมอีเล็กตรา (Electra Complex)
เด็กชายจะเกิดปมออดิปุส (Odipus Complex)
กลไกในการป้องกันตัว
การเก็บกด (Repression)
การเก็บกดความรู้สึกไม่สบายใจ หรือความรู้สึกผิดหวัง ความคับข้องใจไว้ในจิตใต้สำนึก
การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น (Projection)
การลดความวิตกกังวล โดยการป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น
การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization)
การปรับตัว โดยการหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง
การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง (Reaction Formation)
การทุ่มเทแสดงพฤติกรรมตรงข้ามกับความรู้สึกของตนเอง
การถดถอย (Regression)
การหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทำให้ตนมีความสุข
การเลียนแบบ (Identification)
การปรับตัว โดยการเลียนแบบบุคคลที่ตนนิยมยกย่อง
การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement)
เป็นการะบายอารมณ์โกรธ หรือคับข้องใจต่อคน หรือสิ่งของ ที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุของความคับข้องใจ
การสร้างวิมานอากาศ หรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ Day dreaming)
เป็นการสร้างจินตนาการเกี่ยวกับสิ่งที่ตนมีความต้องการแต่เป็นไปไม่ได้ ฉะนั้นจึงคิดฝัน เพื่อสนองความต้องการชั่วขณะหนึ่ง
การแยกตัว (Isolation)
การแยกตนให้พ้นจากสถานการณ์ที่นำความคับข้องใจมาให้ โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลำพัง
ระดับของการรับรู้ของจิต
จิตรู้สำนึก
จิตก่อนสำนึก
จิตใต้สำนึก
องค์ประกอบของจิต
Ego
พฤติกรรมตามหลักความเป็นจริง
Superego
พฤติกรรมส่วนมาตรฐานถ่ายทอดมาจากค่านิยมมาตรฐานทางจริยธรรม
Id
หาความสุขสำราญ/ ความก้าวร้าว/ สัญชาตญาณ
สรุป
เป็นทฤษฎีที่มีอิทธิพลมาก ทั้งทางตรง และทางอ้อม
ผู้ที่มีความเชื่อในทฤษฎีของฟรอยด์ นำหลักการต่างๆ
ไปใช้ในการรักษาคนที่มีปัญหาทางบุคลิกภาพ