Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Operant Conditioning Theory : Skinner ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบกา…
Operant Conditioning Theory : Skinner
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตมี ๒ แบบ
Respondent Behavior
พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่ เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ หรือเป็น ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex
สิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเอง ได้เช่น การกระพริบตา น ้าลายไหล
Operant Behavior
พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้เลือกที่จะแสดงออกมา
เป็นพฤติกรรมที่บุคคล แสดงออกในชีวิตประจำวัน เช่น กิน นอน พูด เดิน ทำงาน ขับรถ
องค์ประกอบของการเรียนรู้
ฺB
Behavior คือ พฤติกรรมที่แสดงออ
C
Consequencesหรือผลกรรม เกิดขึ้นหลังการทำพฤติกรรม เป็นตัวบอกว่าเราจะทำพฤติกรรมนั้นอีกหรือไม่
A
Antecedents คือ เงื่อนไขนำหรือสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม
เช่น วันนี้ต้องเข้าเรียน บ่ายโมง พฤติกรรมเราถูกก าหนดด้วยเวลา
หลักการและแนวคิด
ถ้าทำแล้วได้รับผลน่าพึงพอใจ บุคคลมีแนวโน้มที่จะกระทำ หรือมีความถี่เพิ่มขึ้น
พฤติกรรมที่ได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก พฤติกรรมที่ไม่ได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มค่อย ๆ เลือนหายไป
การเรียนรู้ คือการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม
ถ้าการตอบสนองมีที่ท่าหรือมี โอกาสจะเกิดเพิ่ม แสดงว่าผู้เรียน เกิดการเรียนรู้
การเสริมแรงและการลงโทษ
การเสริมแรง
ความหมาย
การดำเนินการบางอย่างให้บุคคลได้รับผลที่พึงพอใจ เพื่อให้อัตราการตอบสนองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ประเภทตัวเสริมแรง
แบ่งตามสภาพการเกิด
ตัวเสริมแรงปฐมภูมิ
เป็นสิ่งเร้าที่ตอบสนองความต้องการทางอินทรีย์โดยตรงจำเป็นต่อชีวิต
เช่น อาหาร เป็นตัวเสริมแรงปฐมภูมิที่จะลดความหิวลง
ตัวเสริมแรงทุติยภูมิ
เป็นสิ่งเร้าที่ผ่านกระบวนการการเรียนรู้ ไม่ใช่ สิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต แต่เป็น sign ของความสุข
เช่น จะเก็บแสตมป์ 7-11 ไว้ก็ต่อเมื่อรู้ว่านำไปแลกของได้
แบ่งตามลักษณะ
ตัวเสริมแรงทางบวก
เมื่อได้รับจะมีผลให้เกิดความพึงพอใจ และทำให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงไปใน ลักษณะเข้มข้นขึ้นหรือคงไว้
ตัวเสริมแรงทางลบ
เมื่อตัดออกไป จะมีผลให้อัตราการตอบสนอง เปลี่ยนไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น เพราะตัดสิ่งที่ไม่ชอบ ออกไป
ปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมแรง
Timing การเสริมแรงต้องทำทันที
Magnitude & Appeal การเสริมแรงต้องตอบสนองความต้องการอย่างพอเหมาะ อย่ามากไปหรือน้อยไป
Consistency การเสริมแรงต้องให้สม่ำาเสมอ
ลักษณะของตัวเสริมแรง
Activity Reinforcers
เป็นการใช้กิจกรรมที่ชอบทำที่สุดมาเสริมแรงกิจกรรมที่อยากทำน้อยที่สุด โดยให้ทำสิ่งที่อยากทำน้อยที่สุดก่อน แล้วจึงให้ทำ กิจกรรมที่ชอบที่สุด
Token Economy
จะเป็นตัวเสริมแรงได้เฉพาะเมื่อแลกเป็น Backup Reinforcers ได้ เช่น เงิน
Positive Feedback
การให้ข้อมูลป้อนกลับทางบวก มองในส่วนที่ดี
เช่น ชมว่าครูชอบที่นักเรียนทำวิชาภาษาไทย แต่อย่าลืมทำวิชาสังคมด้วย
Social Reinforcers ตัวเสริมแรงที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์
Verbal เป็นคำพูด เช่น การชม
Nonverbal ภาษากาย เช่น กอด
Material Reinforcers ตัวเสริมแรงที่เป็นวัตถุสิ่งของ
Intrinsic Reinforcers ตัวเสริมแรงภายใน เช่น การชื่นชมตัวเอง
การลงโทษ
ความหมาย
การให้สิ่งที่ผู้รับไม่พึงประสงค์ หรือถอดถอนสิ่งที่บุคคล พึงพอใจออก เพื่อให้อัตราการตอบสนองหรือการแสดง พฤตกรรมไม่พึงประสงค์ลดลงหรือหายไป
ผลกระทบ
๒ ได้รับบาดแผลทางจิตใจ
๓ มีผลต่อพฤติกรรม แสดงความรุนแรง เพราะเข้าใจว่าเป็นพฤติกรมที่ยอมรับได้
๑ ได้รับบาดเจ็บทางกาย
วิธีการ
• Time-out การเอาตัวเสริมแรงทางบวกออกจากบุคคล และเมื่อพฤติกรรมทางลบหยุดให้รีบเสริมแรงทันที
Verbal Reprimand การต าหนิ โดยการต าหนิที่พฤติกรรม ผ่านน ้าเสียงและใบหน้าเรียบเฉย ไม่เน้นการต าหนิไปที่ บุคลิกภาพหรือตัวตน
Overcorrection การแก้ไขเกินกว่าที่ทำผิด แบ่งออกเป็น
Positive-Practice Overcorrection การฝึกทำสิ่งที่ถูกต้อง ใช้กับสิ่งที่ทำผิดแล้วแก้ไขไม่ได้อีก เช่น ฝึกทิ้งขยะให้ลงถัง
Negative-Practice การฝึกท าสิ่งที่ผิดเพื่อให้เลิกทำไปเอง เช่น ถ้าเด็กชอบลุกเดินตอนเรียน ให้เดินรอบห้อง 20 รอบ
Restitution Overcorrection การทำสิ่งที่ผิดให้ถูก ใช้กับสิ่งที่ทำผิดแล้วยังแก้ไขได้ เช่น ำาเลอะแล้วต้องเช็ด
Response Cost การปรับสินไหม เป็นการน าเอาสิทธิ์หรือสิ่งของออกจากตัวบุคคล เช่น ปรับเงินคนที่ขับรถผิดกฎ
ประเภทการลงโทษ
การลงโทษทางบวก
การให้สิ่งเร้าที่บุคคลไม่พึงประสงค์ เช่น การตีเมื่อนักเรียนคุยในชั้นเรียน
การลงโทษทางลบ
การถอดถอนสิ่งเร้าที่บุคคลพึงพอใจออก เช่น การปิดแอร์เมื่อนักเรียนลุกเดินไป มาในห้องเรียน
การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม
การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior)
เป็นการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยใช้ วิธีการเสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็ก ทีละน้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ
การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification)
เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มาเป็น พฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการเสริมแรงและ การลงโทษ