Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ - Coggle Diagram
ระบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
2.สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ
2.1.การดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง
1.รักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง
3.กรณีสัมผัสเชื้อเอชไอวีจากการทำงานการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวี
กรณีเป็นผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
2.เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารก
5.ยารักษาภาวะไขมันในเลือดสูงจากการรับประทานยาต้านไวรัส
1.ยาต้านไวรัสสูตรพื้นฐานและสูตรดื้อยา
6.บริการการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยหรือติดตามการรักษา
7.ประชาชนทุกคนได้รับยาต้านหลังสัมผัสเชื้อ (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง)
บริการให้คำปรึกษา และตรวจหาการติดเชื้อHIV โดยสมัครใจ (VCT) (ทุกคน ทุกสิทธิ)
1.บริการ
บริการให้คำปรึกษาและให้ความรู้
ให้บริการรักษาและให้คำปรึกษาหน่วยบริการ
บริการตรวจหาแอนตี้บอดี้ต่อเชื้อเอชไอวี
บริการถุงยางอนามัย
ผู้ที่เข้ารับบริการให้คำปรึกษา
ตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ(VCT)
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เงื่อนไขที่ไม่ครอบคลุม ในกรณีบริการให้คำปรึกษา และตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ(VCT)
1.เคยตรวจหาแอนตี้บอดี้ต่อเชื้อเอชไอวี (Anti-HIV testing) และมีผลบวก (กรณีผู้ป่วยที่ลงทะเบียนในโปรแกรม NAPและไม่มีผลการตรวจ Anti-HIV testing ในฐานข้อมูล NAP สามารถส่งตรวจ Anti-HIV testing ใหม่ได้ไม่เกิน 1 ครั้ง/คน
2.การตรวจหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ (เนื่องจากตรวจโดยใช้งบ PP อยู่แล้ว)
3.การตรวจคัดกรองก่อนการผ่าตัด (อยู่ในงบเหมาจ่ายรายหัว)
4.เพื่อนำไปประกอบการทำธุรกรรมต่างๆ ได้แก่ การสมัครเข้าทำงาน การสมัครเข้ารับการศึกษา การบวชพระ การตรวจเลือดเพื่อทำประกันชีวิต การตรวจสุขภาพประจำปี
2.เงื่อนไขรับบริการ (VCT) ต้องมีข้อหนึ่งข้อใดดังนี้
คู่สมรสมีผลตรวจเลือด HIV ของอีกฝ่ายเป็นบวก
การตรวจเลือดก่อนแต่งงาน
ผู้ที่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ เช่น วัณโรค , PCP (ปอดอักเสบ) , Crypto (เชื้อราขึ้นสมอง)
มีพฤติกรรมเสี่ยง
2.3. การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
การพัฒนาคุณภาพระบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ โดยเป็นการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพแก่หน่วยบริการที่ให้บริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและ ผู้ป่วยเอดส์
2.2. บริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประกอบด้วย
1. บริการป้องกันการติดเชื้อHIV เป็นการบริการเพื่อให้มีการเข้าถึง
ค้นหากลุ่มเสี่ยง
ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่ระบบบริการ
ตรวจหาการติดเชื้อHIV
ส่งต่อผู้ติดเชื้อHIVเข้าสู่ระบบบริการ
ติดตามผู้ติดเชื้อHIVและกลุ่มเสี่ยง
บริการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเอชไอวี เป็นบริการสำหรับการสร้างเสริมสุขภาพ
การให้ คำปรึกษา
การคัดกรอง
การค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
การใช้ยาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
การเยี่ยมบ้าน
บริการยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อ
4.ยา PEP สิทธิบัตรทองให้แค่กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ กับผู้ที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ยาต้านไวรัสฉุกเฉิน ที่จ่ายให้กับผู้ใช้บริการที่เพิ่งไปสัมผัสกับเชื้อเอชไอวีมา ไม่เกิน 72 ชั่วโมง
วิธีการใช้สิทธิ
1) ผู้ป่วยรายใหม่/ยังไม่เคยรับยาต้านไวรัส
(ยังไม่เคยมีเลข NAP Number)
1.หน่วยบริการประจำตามสิทธิของตนเอง
1.ลงทะเบียนในโปรแกรม NAP
2.เมื่อผู้ป่วยมีเลข NAP Number รับยาต้านตามสิทธิประโยชน์ได้
3.กรณีไปหน่วยบริการรับส่งต่อตามสิทธิ จะต้องมีหนังสือส่งตัวจากหน่วยบริการปฐมภูมิ
2.หน่วยบริการอื่นในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
รพ.ทั่วไป หรือรพ.ประจำอำเภอ/รพ.ประจำจังหวัด
1.ติดต่อสอบถาม รพ. ปลายทางเพื่อขอรับยา (ทั้งนี้ รพ.ปลายทางอาจปฏิเสธผู้ป่วยได้)
2.หน่วยบริการลงทะเบียนในโปรแกรม NAP
3.เมื่อผู้ป่วยมี NAP Number รับยาต้านตามสิทธิประโยชน์ได้
2) ผู้ป่วยรายเก่า/เคยรับยาต้านไวรัสมาแล้ว
(มีเลข NAP Number แล้ว)
1.เข้ารับบริการหน่วยบริการปฐมภูมิหรือหน่วยบริการประจำของตนเอง
1.รับยาต้านที่หน่วยบริการตามขั้นตอน
2.กรณีไปหน่วยบริการรับส่งต่อตามสิทธิ จะต้องมีหนังสือส่งตัวจากหน่วยบริการปฐมภูมิ
2.หน่วยบริการอื่นในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
2.ติดต่อแจ้งความประสงค์กับรพ.ต้นทางที่เคยรับยาต้านไวรัสให้รับทราบ
3.รพ.ต้นทางอนุมัติในโปรแกรม NAP ว่าผู้ป่วยจะย้ายไปรับยาต้านไวรัสที่รพ.ปลายทาง
1.ติดต่อสอบถาม รพ. ปลายทางเพื่อขอรับยา (ทั้งนี้ รพ.ปลายทางอาจปฏิเสธผู้ป่วยได้)
หากถูกปฏิเสธ ( ผู้ป่วยมาพักจริงในพื้นที่และยาต้านไวรัสหมด)
1330 รับเรื่องเข้ามาก่อน เพื่อให้ทีมตามเคสประสาน PM เขตว่ามีหน่วยบริการใดในพื้นที่สามารถจ่ายยาต้านไวรัสให้ผู้ป่วยได้
การใช้สิทธิต่างหน่วยบริการ
ครอบคลุม : ยาต้านไวรัส
ไม่ครอบคลุม : การรักษาโรคฉวยโอกาส
ประสงค์รักษา : ชำระเงินเอง
ไปรักษาตามสิทธิ/มีหนังสือส่งตัว
1.กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยทุกรายทุกสิทธิเข้าถึงการบำบัดรักษาด้วยเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน
บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง
ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือสิทธิวว่าง หรือประชาชนกลุ่มเสี่ยง
บริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ประชาชนไทยทุกสิทธิประกันสุขภาพ และอยู่ในกลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง
การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือสิทธิว่าง หรือประชาชนกลุ่ม เฉพาะที่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
โปรแกรม NAP WEB REPORT