Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาการศึกษาและแนวทางการจัด การศึกษาอิสลาม - Coggle Diagram
ปรัชญาการศึกษาและแนวทางการจัด
การศึกษาอิสลาม
ปรัชญาการศึกษา
philosophy
Philo หมายถึง ความรัก ความเลื่อมใส
Sophia หมายถึง ความรู้
ปรัชญา คือ ความพยายามในการหาความจริงแห่ง
ความรู้
นักปรำชญ์ ได้แบ่งสำขำปรัชญาออกเป็น 4 สาขา
Epistemology (ญาณวิทยา) เป็นสาขาปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับ
ความรู้เพื่อความเข้าใจในสัจธรรม (hakikat) ของวัตถุใดๆ
Metaphy(อภิปรัชญา) ปรัชญา ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสำรัตถะ
(Reality Essence) ซึ่งรวมทั้ง ชีวิต โลก และ ภาวะเหนือธรรมชาติsic
Axiology (คุณวิทยา) เป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับความดี ความงาม
Teleologi (อันตวิทยา) –พิจารณาผลการกระทำ- นักปราชญ์
ไม่ใช่แค่สนใจทำความเข้าใจสิ่งที่มีอยู่
บทบาทของปรัชญา
การนำปรัชญามาใช้ในกระบวนการคิดของเรา สามารถแก้ปัญหาความ
คลุมเครือในประเด็นต่าง
เป็นตัวสืบค้นความจริงเพื่อที่จะให้คำตอบต่อประเด็น
คำถามหรือข้อสงสัยต่างๆ
การได้มาซึ่งคำตอบต่อคำถำมนี้ ทำให้เราได้องค์ความรู้สำคัญ
หรืออาจเป็น สารัตถะการศึกษา
การให้คำตอบในประเด็นคำถามข้างต้นในอิสลาม
ลักษณะความรู้
ความรู้ที่ได้จากการประทาน หรือวะหยู
เป็นความรู้ที่ได้จากการแสวงหา
โดยผ่านประสาท
สัมผัส ประสบการณ
การทดลองเป็นต้น
โลกทัศน์
วิธีมองโลกมองสิ่งต่างๆ วิธีการตีความ
สิ่งที่เรียกว่าข้อมูล
โลกทัศน์อิสลาม
Riza and Hussain (2003) ได้สะท้อนความเห็นว่าการจำกัดความเชื่อ
ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับชีวิตและสรรพสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในโลกดุนยา (โลกนี้)
โลกทัศน์อิสลามวางอยู่บนรากฐานของโลกทัศน์อัลกุรอาน
มนุษย์เป็นผู้ถูกสร้างจำเป็นต้องมีวะห์ยู
โลกทัศน์ทางวิทยาศาสตร์
ความรู้ที่แท้จริงคือความรู้ที่สามารถพิสูจน์ได้ อยู่เป็นเอกเทศภายนอก และเป็นวัตถุวิสัย
โลกทัศน์ทางปรัชญา
ใช้กระบวนการคิดผ่าน สติปัญญาและเหตุผล
โลกทัศน์อิสลาม
โดยที่พระองค์อัลลอฮฺ (ซบ)เป็นผู้มีอำนาจเหนือสิ่งอื่นใดในการจัดระเบียบระบบเพื่อการดำรงอยู่ของธรรมชาติหรือจักรวาล
แหล่งที่มาของความรู้ในอิสลาม
อัลกุรอานและอัลหะดีษ
อิสติหฺซาน มะศอลิหฺ มุรสะละฮฺ และอุรฟฺ
อิจญ์มาอฺ และกิยาส
วิธีการหาความรู้ของมนุษย์ในอิสลาม
การหาความรู้ด้วยประสบการณ์ตนเอง
การหาความรู้ด้วยธรรมเนียมประเพณี
การอ่าน และการถามผู้รู้
การหาความรู้โดยใช้หลักตรรกวิทยาหรือ
เชิงเหตุผล