Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสาร - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร และเรื่องราวต่างๆ จากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสารโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง
องค์ประกอบของการสื่อสาร สำหรับองค์ประกอบของการสื่อสารโดยทั่วไปมี 4 ประการ
1.ผู้ส่งสาร (Sender)
2.สาร (Message)
3.ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ (Channel)
4.ผู้รับสาร (Receiver)
ความสำคัญของการสื่อสาร
หากจะพิจารณาถึงความสำคัญของการสื่อสารที่มีต่อมนุษย์แล้วสามารถแบ่งได้เป็น 5 ประการคือ
1.ความสำคัญต่อความเป็นสังคม
2.ความสำคัญต่อชีวิตประจำวัน
3.ความสำคัญต่ออุตสาหกรรมและธุรกิจ
4.ความสำคัญต่อการปกครอง
5.ความสำคัญต่อการเมืองระหว่างประเทศ
ประเภทของการติดต่อสื่อสาร
จำนวนผู้ทำการสื่อสาร
3.การสื่อสารกลุ่มใหญ่
เช่นการอภิปรายในหอประชุมการพูดหาเรื่องเลือกตั้ง
4.การสื่อสารในองค์กร
เช่นการสื่อสารในบริษัทการสื่อสารในหน่วยงานราชการ
2.การสื่อสารระหว่างบุคคล
เช่นการพูดคุยระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไปการพูดคุยการเขียนจดหมาย
5.การสื่อสารมวลชน
การสื่อสารที่ผ่านสื่อเหล่านี้ คือ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร
1.การสื่อสารภายในตัวบุคคล
เช่นการพูดกับตัวเองการคิดคำนึงเรื่องต่างๆ
ประเภทของการสื่อสาร
การเห็นหน้้าค่าตาเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
การสื่อสารเเบบเห็นหน้าค่าตา เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งสารสารมีโอกาสเห็นหน้ากันเวลาสื่อสาร ทำให้สามารถปรับเปลี่ยนกัปกิริยาท่าทางขณะที่สื่อสารกันได้ เช่น การสนทนากันแบบซึ่งหน้าเป็นต้น
การสื่อสารแบบไม่เห็นหน้าค่าตากัน
เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารไม่มีโอกาสเห็นหน้ากัน ขัดโดยตรงในเวลาที่สื่อสารกันเช่นสนทนาทางโทรศัพท์การประชุมผ่านทางเครื่องรับทางไกล เป็นต้น
ที่ใช้ทิศทางการสื่อสารเป็นเกณฑ์แบ่งได้ 2 ประเภทดังนี้
การสื่อสารทางเดียว
การสื่อสารที่ผ่านสื่อมวลชนทุกชนิด คือวิทยุโทรทัศน์ วีดิทัศน์ โทรเลข โทรสารภาพยนตร์ เป็นต้น
การสื่อสารสองทาง
การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารในกลุ่ม การพูดคุย การสนทนา เป็นต้น
การสื่อสารที่เป็นทางการ
3.เส้นทางของการสื่อสารต้องสั้นและตรงประเด็น
2.อำนาจหน้าที่ปรากฏอยู่ในช่องทางของการสื่อสารอย่างเป็นทางการ
1.ช่องทางการสื่อสารประกาศให้รู้อย่างชัดเจนและแน่นอน
4.ผู้ที่มีความสามารถที่จะเป็นศูนย์กลางการสื่อสารซึ่งได้แก่เจ้าหน้าที่หัวหน้างาน
5.ระบบการสื่อสารทุกระบบต้องเชื่อถือได้
การสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ
2.ก่อให้เกิดความสามัคคีภายในองค์กร
ตอบสนองความต้องการและความรู้สึกของปัจเจกบุคคลในเรื่องของการรวมตัวกันเป็นอันหรืออันเดียวกันการเคารพตนเองและการตัดสินใจเลือกที่เป็นอิสระ
โดยใช้ลักษณะของสารเป็นเกณฑ์แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
การสื่อสารเชิงวัจนภาษา
การพูดการบรรยาย การเขียนจดหมายบทความ เป็นต้น
การสื่อสารโดยไม่ใช้ถ้อยคำ คำพูดอาการภาษา กาลภาษา เทศภาษาสัมผัสภาษา เนตรภาษา วัตถุภาษา และปริภาษา เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการติดต่อสื่อสาร
การรับรู้
การฟัง
อิทธิพลทางสังคม
ความเข้มข้นของข้อมูล/คุณภาพของข้อมูล
ระยะห่าง
การจัดระยะ
การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์
อุปสรรคของการติดต่อสื่อสาร
อุปสรรคภายในองค์การ
ขนาดขององค์การ
ปริมาณของข้อมูลที่มากจนเกินไป
การจัดโครงสร้าง
ความแตกต่างทางสถานภาพ
การเจาะจงของงาน
การกรองข่าวสาร
เวลา
บรรยากาศขององค์การ
เทคโนโลยี
อุปสรรคส่วนบุคคล
ความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา
การลำเอียงของการรับรู้
การรับรู้แบบเลือกสรร
กรอบความขัดแย้งของสิ่งอ้างอิง
ความหมายของคำ ภาษา
ทักษะในการสื่อสาร
อารมณ์
ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและค่านิยมทางสังคม